วงจรลบแรงดัน (1)
วงจรลบแรงดัน (2) พิจารณาเมื่อ พิจารณาเมื่อ
วงจรลบแรงดัน (3)
“วงจรลบแรงดัน” ในบริบทของ “วงจรขยายสัญญาณผลต่าง (Difference Amplifier)” อัตราขยายสัญญาณผลต่าง สามารถกำหนดได้จากอัตราส่วนของ R1 และ R2
Instrumentation Amplifier
6.4 ความไม่เป็นอุดมคติของออปแอมป์ อัตราขยาย ความต้านทานขาเข้า และความต้านทานขาออก Note 741C มีอัตราขยาย 200,000 ความต้านทานขาเข้า 2 MW ความต้านทานขาออก 75 W
ระดับแรงดันเอาต์พุต Transfer characteristic curve ของออปแอมป์ที่มีระดับแรงดันเอาต์พุตอยู่ ในช่วง -10 V ถึง 10 V และ อัตราขยาย 100,000 Note 741C มีระดับแรงดันเอาต์พุต ฑ13 V
แรงดันอินพุตออฟเซ็ต
ออปแอมป์ที่ไม่มี offset Note สำหรับออปแอมป์ 741C TYP MAX input offset voltage : |VOS| 2.0 mV 6.0 mV
แรงดันเอาต์พุตออฟเซ็ตคือแรงดันเอาต์พุตของวงจรเมื่อป้อน vI = 0 ตัวอย่าง 6.3 แรงดันเอาต์พุตออฟเซ็ตคือแรงดันเอาต์พุตของวงจรเมื่อป้อน vI = 0 741C
ออปแอมป์ saturate
กระแสไบอัส Note 741C TYP MAX UNITS Input Bias Current: |IB| 80 500 nA Input Offset Current: |IOS| 20 200 nA
ตัวอย่าง 6.4
ตัวอย่าง 6.5
อัตราสลูว์ แบนด์วิดธ์ โดยทั่วไปออปแอมป์ขณะไม่มีการป้อนกลับจะมีแบนด์วิดธ์ (bandwidth) ที่แคบมาก (อาทิ 741C มีแบนด์วิดธ์ต่ำกว่า 10 Hz) อย่างไรก็ตามเมื่อมีการป้อนกลับแบนด์วิดธ์ของวงจรจะขยายออกมาได้ อัตราสลูว์ Note 741C มี SR = 0.5 V/ms
Full-Power Bandwidth ในกรณีที่แรงดันเอาต์พุตเป็นรูปซายน์ ในกรณีที่ Vp = |VO|max ดังนั้นเงื่อนไขที่ไม่ทำให้เกิดความเพี้ยนในสัญญาณเอาต์พุตคือ Full-power bandwidth
Datasheet โดยทั่วไปข้อมูลใน data sheet จะสามารถแบ่งได้เป็นหัวข้อย่อย ๆ ดังนี้ 1. ที่ด้านบนของ data sheet จะแสดงหมายเลขอุปกรณ์และคำอธิบายสั้น ๆ ถึงลักษณะของอุปกรณ์นั้น 2. General Description จะบอกถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตอุปกรณ์ อุปกรณ์นี้ถูกออกแบบมาเพื่อการประยุกต์ใช้งานในด้านใด และลักษณะสำคัญต่าง ๆ ของอุปกรณ์ 3. Absolute maximum rating จะบอกถึงเงื่อนไขต่าง ๆ ในการใช้งานอุปกรณ์ ซึ่งในการใช้งานจริงถ้าใช้ค่าเกินที่กำหนดจะทำให้อุปกรณ์ไม่สามารถทำงานได้ตามปรกติและอาจทำให้เกิดความเสียหายได้ 4. การกำหนดขาของอุปกรณ์ (pin configuration) ประเภทของ package และข้อมูลการสั่งซื้อ 5. วงจรเสมือนภายในของอุปกรณ์ 6. คุณสมบัติทางไฟฟ้าและค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ 7. กราฟแสดงคุณลักษณะของอุปกรณ์ เช่นอัตราขยาย VS ระดับแรงดันแหล่งจ่ายกำลัง การสวิงของสัญญาณแรงดันเอาต์พุต VS ความถี่ของสัญญาณ และการกินกำลัง VS อุณหภูมิ 8. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์และวงจรทดสอบ