ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1 ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1 รองศาสตราจารย์ พรศรี ศรีอัษฎาพร
หัวข้อเรื่อง วัตถุประสงค์ของการสรุป เรื่องที่จะสรุป แนะนำการอ่าน และเตรียมสอบ ให้กำลังใจ
วัตถุประสงค์ของการสรุป เพื่อทบทวนสาระสำคัญ การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติด้วยโรคในระบบต่างๆ ๕ ระบบ (หน่วยที่๑๑-๑๕) ทางเดินอาหาร ต่อมไร้ท่อ ทางเดินปัสสาวะ กระดูก กล้ามเนื้อและระบบประสาท อุบัติเหตุและสารพิษ
สาระสำคัญ (ต่อ) การพยาบาลเด็กที่สำคัญ ๗ เรื่อง การพยาบาลด้านจิตใจ ภาวะไม่สมดุลของน้ำ เกลือแร่และกรดด่าง การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด การส่งเสริมการเจริญเติบโตฯ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ระบบทางเดินอาหาร Cleft lip (ปากแหว่ง) Cleft Palate (เพดานโหว่) เป็นความผิดรูปของช่องปากแต่กำเนิด มีสาเหตุมาจากกรรมพันธ์ เด็กจะมีการดูดกลืนนมได้ไม่ดี สำลักนม เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เสี่ยงต่อการขาดสารน้ำและสารอาหาร การรักษาโดยการผ่าตัดตกแต่ง
Tracheo Esophageal Fistula มีช่องว่างระหว่างหลอดลมคอและหลอดอาหาร เป็นความผิดปกติที่มักเกิดร่วมกับ Esophageal Atresia เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างรีบด่วน เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อชีวิต เนื่องจากพยาธิสรีรภาพของความผิดปกติชนิดนี้ ทำให้สำลักอาหารหรือเสมหะเข้าหลอดลมและปอด ก่อให้เกิดการติดเชื้อที่ปอดและมีอาการหายใจลำบาก
T.E Fistula (ต่อ) อาการและอาการแสดงที่สำคัญ คือ มีน้ำลายมากหรือน้ำลายฟูมปาก เมื่อดูดน้ำจะมีอาการสำลัก ไอ เขียว และหยุดหายใจได้ ท้องป่องเนื่องจากมีลมผ่านเข้าไปในกระเพาะอาหารและลำไส้ การรักษา ผ่าตัดอย่างรีบด่วน ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบบ่อย คือ ปอดอักเสบ การกลืนลำบาก
T.E Fistula (ต่อ) การพยาบาลที่สำคัญ ก่อนผ่าตัด หลังผ่าตัด ดูแลให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดและรับประทานช้าๆ ดูดน้ำลายในปากให้ผู้ป่วยบ่อยๆ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าตัวตั้งตรง หลังผ่าตัด หลังผ่าตัดวันที่ ๔ เริ่มให้นมทีละน้อยๆและช้าๆ จัดให้อยู่ในท่าศีรษะสูง ๓๐ องศา
ระบบทางเดินอาหาร(ต่อ) ความผิดปกติของลำไส้และการดูดกลืน การย่อยและการดูดซึมน้ำตาลแลคโตสผิดปกติ Hirschsprung’s disease (ลำไส้โป่งพองแต่กำเนิด) Intussusceptions (ภาวะลำไส้กลืนกัน) การติดเชื้อที่ลำไส้ Diarrhea ไส้ติ่ง
อุจจาระร่วง (Diarrhea) ความหมาย สาเหตุจาก การติดเชื้อ : ชนิดของเชื้อ การไม่ติดเชื้อ ชนิด Acute / Chronic Diarrhea พยาธิสรีรภาพ การประเมินภาวะการขาดน้ำและระดับความรุนแรง
อุจจาระร่วง (ต่อ) ตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล การรักษา หลักสำคัญของการรักษา คือ การรักษาและป้องกันการเกิดภาวะขาดน้ำ และ อิเล็กโตรไลต์ การป้องกันภาวะการขาดสารอาหาร การรักษาแบบประคับประคอง การรักษาภาวะขาดน้ำ การรักษาตามอาการ การพยาบาล ตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ระบบต่อมไร้ท่อ หัตถการการตรวจฯการทดสอบความทนต่อกลูโคส หัตถการการรักษาด้วยH.Insulin โรคเบาหวาน โรคเบาจืด Hypothyroidism(Cretrinism) Hyperthyroidism Growth failure Cushing Syndrome
การทดสอบความทนต่อกลูโคส เป็นหัตถการที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการวินิจฉัยโรคเบาหวานและภาวะการมีระดับฮอร์โมนอินซูลิน ความหมายและวัตถุประสงค์ในการทดสอบฯ การพยาบาลก่อน ขณะ และหลัง การทดสอบฯ การแปลผล สังเกตุอาการผิดปกติที่สำคัญ คือ อาการอาเจียน
การรักษาด้วยฮอร์โมนอินซูลิน เป็นวิธีการรักษาเฉพาะสำหรับแก้ไขปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ความหมายและวัตถุประสงค์ ชนิดและการออกฤทธิ์ ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยและสำคัญที่สุด คือ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า ๔๐ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือพลาสมากลูโคสต่ำกว่า ๔๕ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ อาการและอาการแสดงจะรุนแรงตามระดับการขาดน้ำตาลในเลือด Mild Hypoglycemia Moderate Hypoglycemia Severe Hypoglycemia
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (ต่อ) การช่วยเหลือเร่งด่วนเมื่อเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ อาการรุนแรงน้อย อาการรุนแรงปานกลาง อาการรุนแรงมาก การพยาบาล ก่อน ขณะ และหลังการฉีดH.Insulin ตำแหน่งฉีด กล้ามเนื้อบริเวณต้นขา ต้นแขน หน้าท้องรอบสะเดือ
โรคเบาหวาน(Diabetes mellitus) เป้นโรคที่มีความผิดปกติในการเผาผลาญน้ำตาลกลูโคส เนื่องจากมีการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินน้อยมากจนทำให้เกิดภาวะขาดอินซูลิน เป็นผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ชนิดของD.M ในเด็กและวัยรุ่น โรคเบาหวานชนิดที่ 1 โรคเบาหวานชนิดที่ 2
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 พบบ่อยที่สุดในเด็ก พยาธิสรีรภาพ อาการและอาการแสดง อาการสำคัญ : Diabetic Ketoacidosis (DKA) เป็นภาวะวิกฤตฉุกเฉินของโรคเบาหวานชนิดที่ 1 : Kussmaul Breathing : ลมหายใจอาจมีกลิ่นอะซิโตน
โรคเบาหวานชนิดที่ 1(ต่อ) การวินิจฉัยโรค การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจเลือดหาระดับกลูโคสและการแปลผล การรักษา
โรคเบาหวานชนิดที่ 1(ต่อ) การรักษาด้วย การฉีดอินซูลิน การวางแผนเรื่องโภชนาการ การออกกำลังกาย การติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงของระดับกลูโคสในร่างกาย การดูแลด้านจิตใจและส่งเสริมการปรับตัว
โรคเบาหวานชนิดที่ 1(ต่อ) ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่พบบ่อย DKA ระดับกูลโคส >300mg% Hyperglycemia ระดับกูลโคส >240mg% Hypoglycemia ระดับกูลโคส <40mg% or <45mg% ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว Neuropathy Retinopathy
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจากภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน มักพบในวัยรุ่นที่อ้วนมาก และมีประวัติการเป็นเบาหวานในครอบครัว อาการและอาการแสดง : อ้วนมาก มีผื่นคันในร่มผ้า มีรอยโรคที่ผิวหนังลักษณะปื้นหนามีสีดำบริเวณรอบคอ รักแร้ และขาหนีบ(Acanthosis Nigricans) ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (ต่อ) การรักษา ควบคุมอาหารและน้ำหนักตัว การออกกำลังกาย การรักษาด้วยยาเม็ดลดน้ำตาล Metformin 500 mg วันละ1 ครั้งหลังอาหารเย็น หรือ ก่อนนอน เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ส่งเสริมภาวะอารมณ์และจิตใจ ให้คำแนะนำในการควบคุมเบาหวานอย่างเข็มงวด โดย......
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (ต่อ) การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเด็กและวัยรุ่นที่อ้วนโดย .........
Hypothyroidism (Cretinism) Thyroid H. มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพัฒนาการของสมองทารกในช่วงอายุ 2ขวบปีแรก Cretinism= ภาวะขาดธัยรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด อาการและอาการแสดง : ลักษณะเฉพาะของเด็กCretinism 7 ข้อ การวินิจฉัยโรค Thyroid Scan
Hypothyroidism (Cretinism) การวินิจฉัยโรค การซักประวัติ : การตั้งครรภ์ของมารดากับโรคของต่อมธัยรอยด์ การรับประทานยาต้าน T. ขณะตั้งครรภ์ พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกช้าไม่เหมาะสมกับวัย มีอาการตัวเหลืองเป็นระยะเวลานาน การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทำNeonatal Thyroid Screening Test
Cretinism(ต่อ) การรักษา ให้ธัยรอยด์ฮอร์โมนชดเชยทันที: Dessicated Thyroid Extract หรืออาจให้ L-Thyroxin โดยให้อย่างสม่ำเสมอตลอดชีวิต ติดตามการรักษา จะต้องประเมินทารกในเรื่องพัฒนาการและการเจริญเติบโต การพยากรณ์โรค ขึ้นกับความรุนแรงของความผิดปกติ ระยะเวลาที่ตรวจพบจนได้รับการแก้ไข
Cretinism(ต่อ) การพยากรณ์โรค ดี ถ้าตรวจพบเร็วและได้รับการแก้ไขก่อนอายุ ๒ สัปดาห์ ถ้าได้รับการรักษาภายในหรือก่อนอายุ ๓ เดือน พัฒนาการและการเจริญเติบโตก็จะเป็นไปตามปกติ
ระบบทางเดินปัสสาวะ AGN NS UTI Pyelonephritis SLE
โรคไตอักเสบเฉียบพลัน(AGN) AGN & NS ควรอ่านกรณีศึกษาท้ายหน่วย AGN ความหมาย : สาเหตุ : เชื้อที่พบบ่อย แบคทีเรีย Group A beta hemolytic streptococcus ตำแหน่งติดเชื้อก่อนเกิดอาการ : การติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัด การติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น แผลตุ่มหนอง
AGN (ต่อ) พยาธิสรีรภาพ : อาการและอาการแสดง บวม ถ่ายปัสสาวะน้อย ถ่ายปัสสาวะมีเลือดปน ถ่ายปัสสาวะมีโปรตีน ความดันโลหิตสูง มีการคั่งของน้ำในระบบไหลเวียน
AGN (ต่อ) การวินิจฉัยโรค :ที่สำคัญ ASO titre, การตรวจเพาะเชื้อ การรักษา :รักษาตามอาการ การพักผ่อน การจำกัดน้ำดื่ม การจำกัดเกลือ สารอาหารโปรตีน การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันหรือยาขยายหลอดเลือด ยาปฏิชีวนะ เช่น Penicillin
AGN (ต่อ) การติดตามการรักษา การพยากรณ์โรคดี การปองกัน ดีที่สุด การปองกัน ดีที่สุด ดูแลสุขภาพ ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ ถ้าเกิดการติดเชื้อ รับยาปฏิชีวนะให้ครบอย่างน้อย 10 วัน
กลุ่มอาการโรคไตเนโฟรติก(NS) ความหมาย : สาเหตุ :ที่แท้จริงไม่ทราบ พยาธิสรีรภาพ : อาการและอาการแสดง บวม (Anasarca) หายใจลำบากจากการมีน้ำในช่องท้อง ช่องเยื้อหุ้มปอด มีการติดเชื้อ ความดันโลหิตสูง ซีด เบื่ออาหาร
NS (ต่อ) การวินิจฉัยโรค : การรักษา ภาวะแทรกซ้อน เฉพาะโรค: บวม ความดันโลหิต ยาสเตียรอยด์นิยม เพรดนิโซโลน ยากดปฏิกิริยาทางอิมมูน :Cytoxan อาหาร ให้โปรตีนเพื่อชดเชยที่สูญเสีย ภาวะแทรกซ้อน
NS (ต่อ) การพยากรณ์โรค : การพยาบาล ตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ(UTI) ความหมาย พยาธิสรีรภาพ : อาการและอาการแสดง การรักษา การป้องก้น การพยาบาล
กระดูก กล้ามเนื้อ และระบบประสาท Febrile Convulsion Cerebral palsy Meningitis Epilepsy Encephalitis Hydrocephalus
การป้องกันอุบัติเหตุและสารพิษ สิ่งแปลกปลอมติดคอ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก จมน้ำ ตกจากที่สูง การบาดเจ็บที่ศรีษะ Glsassgow Coma Scale
การป้องกันอุบัติเหตุและสารพิษ สารพิษในเด็ก สารพิษตะกั่ว สารเคมีที่ใช้ในบ้าน ยาฆ่าแมลง น้ำยาทำความสะอาดร่างกายและเสื้อผ้า น้ำมันก๊าซ เบนซิน น้ำมันที่ใช้จุดบุหรื่
การพยาบาลที่สำคัญ๘เรื่อง
๑.การพยาบาลด้านจิตใจ เมื่อต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ระยะเฉียบพลัน Separation Anxiety Pain ระยะเรื้อรัง ระยะสุดท้าย Body Image Death & Dying
ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ผลกระทบต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กในแต่ละวัย ปฏิกิริยาและการตอบสนองของเด็กและพ่อแม่ การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการเผชิญกับผลกระทบและการตอบสนองความต้องการพื้นฐานของเด็ก
Separation Anxiety ความวิตกกังวล ความเครียดจากการแยกจาก ปฏิกิริยาและพฤติกรรมการแสดงออกในแต่ละระยะของ S.A ระยะประท้วง (protest) ระยะสิ้นหวัง (Despair) ระยะปฏิเสธ (Denial) การพยาบาลในแต่ละระยะ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด พฤติกรรมของเด็กในแต่ละวัยเมื่อมีความปวด และการพยาบาล วัย ๐-๑ ปี วัย ๑-๓ ปี วัย ๓-๕ ปี วัย ๖-๑๒ ปี วัย ๑๓+ ปี
๒. ภาวะไม่สมดุลของน้ำ เกลือแร่ และกรดด่าง ๒. ภาวะไม่สมดุลของน้ำ เกลือแร่ และกรดด่าง
๓.การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง
๔.การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ ไข้เลือดออก หัด เอดส์ สุกใส คางทูม หัดเยอรมัน วัณโรค ติดเชื้อที่ผิวหนัง
การพยาบาลเด็กโรคไข้เลือดออก เป็นโรคที่เกิดจากติดเชื้อไวรัส Dengue ระยะฟักตัว ๓-๑๕ วัน การตรวจเลือดจะพบเชื้อไวรัส Dengue ภายใน ๗ วันหลังถูกยุงกัด ยุงสามารถแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่นหลังจากดูดเลือดผู้ป่วย ๗-๑๐ วัน
ไข้เลือดออก(ต่อ) มีอาการสำคัญที่ค่อนข้างเฉพาะได้แก่ การดำเนินโรค ไข้สูงลอย ๒-๗ วัน มีอาการเลือดออกในทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง มีตับโต กดเจ็บ การไหลเวียนของเลือดล้มเหลว เกิดภาวะช็อก การดำเนินโรค
ไข้เลือดออก (ต่อ) การดำเนินโรค แบ่งได้ ๓ ระยะได้แก่ ระยะไข้ ระยะวิกฤต/ช็อก และระยะฟื้นตัว แบ่งความรุนแรงของโรค ๔ เกรด เกรด ๑ เกรด ๒ เกรด ๓ เกรด ๔ การวินิจฉัย อาการสำคัญทางคลินิก การทดสอบTourniquet test (+) เกร็ดเลือดต่ำ ฮีมาโตคริทเพิ่มขึ้น>๒๐%
ไข้เลือดออก (ต่อ) การวินิจฉัย(ต่อ) การรักษา การตรวจหาเชื้อไวรัสแดงกี การถ่ายภาพรังสี ถ้าสงสัยมีน้ำในช่องเยื้อหุ้มปอด การรักษา ให้ยาลดไข้ paracetamol ให้น้ำให้เพียงพอ ติดตามดูอาการใกล้ชิด
๕. การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนด RDS, BPD, ROP, Sepsis, NEC Hypothermia, hypoglycemia
ทารกแรกเกิด = ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรก เกิดถึง ๒๘วัน ทารกแรกเกิด = ทารกที่มีอายุตั้งแต่แรก เกิดถึง ๒๘วัน การประเมินสภาพร่างกายของทารก การประเมินสภาพขั้นแรกโดยใช้ Agar Score การประเมินอายุครรภ์ การประเมินสภาพร่างกายตามระบบ การประเมินปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาบิดาและทารก
Agar score ประเมินการปรับตัวของทารกต่อสิ่งแวดล้อม ประเมินลักษณะ ๕ อย่างคือ อัตราการเต้นของหัวใจ การหายใจ การตึงตัวของกล้ามเนื้อ การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น สีผิว ทารกปกติมีค่า Agar score= ๗-๑๐
การประเมินอายุครรภ์ เพื่อบ่งชี้ภาวะแทรกซ้อนและการตายของทารก เกี่ยวข้องกับอายุครรภ์และน้ำหนักแรกเกิด การจำแนกทารกตามอายุครรภ์ ทารกครบ,ก่อน,เกิน กำหนด การจำแนกทารกตามน้ำหนักแรกเกิด ตัวเล็กกว่าปกติ,เหมาะสม,ใหญ่กว่าปกติ,สำหรับอายุครรภ์
การประเมินการตอบสนองของReflex Moro reflex = Tonic neck Reflex= Sucking Reflex= Rooting Reflex = Palma reflex= Babinski Reflex= Placing reflex= Stepping reflex=
ภาวะตัวเหลือง (Jaundice)
Blood Group Incompatibility
Down Syndrome
๖. การส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการ ๖. การส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการ
ลักษณะพัฒนาการในแต่ละวัย
โภชนาการในเด็กและวัยรุ่น
๗.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนะนำการเตรียมสอบ
ลักษณะมาตรฐานของข้อสอบ โดยทั่วไป ลักษณะข้อสอบที่ใช้วัดและประเมินผลสัมฤทธิ์จะวัดพฤติกรรมระดับ ความจำ ความเข้าใจ ~ ๑๐-๑๕ % การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ~ ๓๐-๓๕ % การนำไปใช้ ~ ๕๐-๖๐ %
ตัวอย่างข้อคำถาม วัดความจำ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อใดเป็นพยาธิสรีรภาพของกลุ่มอาการโรคไต การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การดำเนินชีวิตประจำวัน เหตุการณ์ข้อใด อาจทำให้เด็กวัยรุ่นเบาหวานต้องการอินซูลินเพิ่มขึ้น
ตัวอย่างข้อคำถาม การนำไปใช้ คำแนะนำสำหรับเด็กเบาหวานในการดูแลตนเอง เมื่อมีการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนต้น จะให้คำแนะนำอย่างไร
แนะนำการอ่านหนังสือเพื่อสอบ อ่านทุกเรื่องในตำรากุมารฯทั้ง ๓ เล่ม จดบันทึก สาระสำคัญที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเรื่อง ได้แก่ คำจำกัดความ พยาธิสรีรภาพ การดำเนินโรค อาการสำคัญที่เป็นอาการเฉพาะ การตรวจวินิจฉัยที่สำคัญและจำเป็น การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แนะนำการอ่านหนังสือเพื่อสอบ จดบันทึก สาระสำคัญที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเรื่อง (ต่อ) หัตถการการตรวจวินิจฉัย การรักษาที่สำคัญและจำเป็น ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล หลักการพยาบาล อ่านทบทวนอีกครั้งโดยเฉพาะเรื่องที่สำคัญและพบบ่อย อ่านหนังสือ X ดูหนังสือ
ขอให้มีพลังในการเตรียมสอบ