Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
Ground State & Excited State
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
หินแปร (Metamorphic rocks)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
Mathematical Statement of the Problem
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Introduction to Statics
พลังงานภายในระบบ.
โครงการสอนการถ่ายเทความร้อน
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การระเหยแบบไหลเป็นฟิล์มบาง
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
Physics Thermodynamics-1
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
บทที่ 9 เทอร์โมไดนามิกส์เคมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes 312 234 Biophysical Chemistry Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes ผศ.ดร. อัจฉรา ห้อง 4511-1 Electrochemistry ผศ.ดร. สมเกียรติ/ Chemical Kinetics ผศ.ดร. ไฉนพร

เอกสารอ้างอิง - Atkins - Alberty - Laidler & Meiser Physical Chemistry Basic Physical Chemistry - Atkins - Alberty - Laidler & Meiser

Thermodynamics Chemical Thermodynamics - Walls Biophysical Chemistry

หนังสือเกี่ยวกับ Physical Chemistry ทุกเล่ม General / Basic / Fundamental Chemistry Thermodynamics

หัวข้อที่สอน (16 ชั่วโมง) -นิยามของเทอมต่าง ๆ ระบบ - สิ่งแวดล้อม สภาวะ - ฟังก์ชันสภาวะ งาน - ความร้อน

- กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ เอนทาลปี - ความจุความร้อน เทอร์โมเคมี - The Carnot Cycle, เอนโทรปี กฎข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ การเกิดได้เอง และการผันกลับได้

-กฎข้อที่ 3 ของเทอร์โมไดนามิกส์ -พลังงานอิสระและ Phase Equilibria -พลังงานอิสระและค่าคงที่สมดุล

-พลังงานอิสระและการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิและความดันของระบบ - Phase Rules - Ideal solution & Real solution - Raoult’s Laws & Henry Laws - สมบัติคอลลิเกทีฟ

อุณหพลศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษา เกี่ยวกับพลังงาน กำลังงาน การเปลี่ยนแปลง พลังงาน เมื่อสสารเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางกายภาพและทางเคมี ข้อมูลทาง อุณหพลศาสตร์จะใช้ในการทำนายว่า ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้เองหรือไม่ แต่จะไม่ สามารถบอกอัตราเร็วของปฏิกิริยาได้

System & Surroundings System Surroundings ขอบเขต & บริเวณ system ที่สนใจศึกษา System system Surroundings

ระบบเปิด (open system) : มีการแลกเปลี่ยนพลังงาน & มวลสาร ระบบปิด (closed system) ระบบโดดเดี่ยว (isolated system)

ปิดสนิท น้ำเกลือ (H2O + NaCl) ตั้งไว้ที่ 45 0C

สภาวะและฟังก์ชันสภาวะ (State and State function)

PV=nRT สมการสภาวะ : (equation of State) R= 0.0821 lit-atm K-1 mol-1 8.314 J K-1 mol-1

Van der Waals equation (P + an2) (V-nb) = nRT V2

ฟังก์ชันสภาวะ หรือ ตัวแปรสภาวะ คือ ปริมาณต่าง ๆ ที่บ่งบอกสภาวะ (State function, State variable) 1. ไม่ขึ้นกับวิถีการเปลี่ยนแปลงของระบบ แต่จะขึ้นกับสภาวะ ตั้งต้น (initaial Stute) และสภาวะสุดท้าย (final State) เท่านั้น dX = Xf - Xi X2 - X1 2.

3. คำนวณได้จากฟังก์ชันสภาวะใด ๆ

ตัวอย่างของฟังก์ชันสภาวะ ปริมาตร อุณหภูมิ ความดัน จำนวนโมล พลังงานภายใน เอนทาลปี เอนโทรปี พลังงานอิสระ

Extensive Variables Intensive Variables ตัวแปรที่ขึ้นอยู่กับขนาดของระบบ Intensive Variables ตัวแปรที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดของระบบ

งานที่เกี่ยวข้องมีค่าเท่ากับ 10 kJ mol-1 งานการขยายตัวของแก๊ส มีค่าเท่ากับ 20 kJ งานที่เกี่ยวข้องมีค่าเท่ากับ 10 kJ mol-1

Physics : งานและความร้อน Work : W งาน = แรงxระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง

W = f l h2 f W = mgh = mgh2- mgh1 h1 งาน =การเปลี่ยนแปลงของพลังงานศักย์

a = v2-v1 ความเร็วเฉลี่ย l2-l1 = (v1+v2) t ; a W = (ma) l = ma (l2-l1)

2 2 = 1 mv22-1 mv12 2 2 w = m (v2-v1)(v1+v2) t = 1 m (v22-v12) t งาน = การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์

งานในทางกลศาสตร์ คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ

งานในทางเทอร์โมไดนามิกส์ คือ “การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของระบบ ภายใต้อิทธิพลของความดันภายนอก” (External pressure)

เมื่อ l2 > l1 l2 l1 สมการที่ใช้คือ w = - fext (l2-l1) w = -fext (Al2-Al1) A l2 fext l1 A A w = - Pext(V2-V1)

PV-work : w = -Pext DV งานการเปลี่ยนแปลงปริมาตรภายใต้แรงดันภายนอก หน่วยของงาน : J หรือ N m หรือ kg m2 s-2 หรือ dm3 - atm

นิยาม : งานที่สิ่งแวดล้อมกระทำต่อระบบ (ระบบเล็กลง,หดตัว) มีค่าเป็นบวก (positive value) งานการขยายตัวของแก๊สมีค่าเป็นลบ

State Function Path Function

งานเป็น State Function ??

V1, P1 V1, P1 P1 P2 V2, P2 V2, P2 V1 V2 V1 V2

Dwrev = - P dV P V Equilibrium Path และ Reversible Process W = - P dV

W = - P dV B A แทนค่า P = nRT V

= Isothermal reversible expansion of ideal gas compression อุณหภูมิคงที่ (DT = 0) =

w = - nRT ln (V2/V1) = nRT ln (V1/V2) w = nRT ln (P2/P1)

ความร้อน (Heat) สมดุลทางความร้อน (thermal equilibrium) ความร้อน คือ พลังงานที่ถ่ายเทข้ามขอบเขต ของระบบกับสิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิ ต่างไปจากระบบ

T1 > T2 1 2 1 2 โดยที่ T1 > Tf > T2 heat flow Tf = Tf q 1 2 ที่สมดุล : Tf = Tf heat flow 1 2 โดยที่ T1 > Tf > T2