สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Homework 2D Equilibrium of Particle
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
Application of Graph Theory
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
Introduction to Statics
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Equilibrium of a Particle
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
Systems of Forces and Moments
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง วัตถุที่อยู่นิ่ง วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ วัตถุที่ไม่หมุน วัตถุที่กำลังหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ สรุปได้ว่า สภาพสมดุล คือ การที่วัตถุสามารถรักษาสภาพการเคลื่อนที่ได้

สภาพสมดุลสถิต (Static Equilibrium) เกิดขึ้นเมื่อวัตถุอยู่นิ่งเทียบกับกรอบอ้างอิงเฉื่อย สมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่ง เงื่อนไข คือ

ในกรณีวัตถุอยู่ในสภาพสมดุล ทฤษฎีของลามี หรือกฎของไซน์ สมดุลต่อการหมุน เงื่อนไข คือ หรือ สภาพสมดุลสมบูรณ์ คือ การที่วัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่งและสมดุลต่อการหมุน แรงคู่ควบ เป็นระบบของแรงสองแรงที่มีขนาดเท่ากัน แต่ทิศตรงกันข้าม และจุดกระทำไม่ร่วมกัน

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปที่ 1 จงหา ขนาดของทอร์กของแรงคู่ควบ จะต้องทำอย่างไรจึงจะทำให้แรงคู่ควบนี้อยู่ในสภาพสมดุล ระยะทางตั้งฉากระหว่างแรงคู่ควบที่มีขนาด 10 N ซึ่งสามารถทำให้แรงคู่ควบที่กำหนดให้อยู่ในสภาพสมดุลได้ 8 N 2 m รูปที่ 1 8 N

เสถียรภาพของสมดุล สภาพสมดุลเสถียร คือ สภาพที่วัตถุสามารถกลับมาอยู่ในลักษณะเดิมได้เมื่อมีแรงกระทำเพียงเล็กน้อย สภาพสมดุลสะเทิน คือ สภาพที่วัตถุสามารถอยู่ในลักษณะเดิมได้ไม่ว่าจะมีแรงเท่าไรมากระทำก็ตาม สภาพสมดุลไม่เสถียร คือ สภาพที่วัตถุไม่สามารถกลับมาอยู่ในลักษณะเดิมได้เมื่อมีแรงกระทำเพียงเล็กน้อย

กราฟพลังงานศักย์โน้มถ่วงของจุดศูนย์กลางมวล ในแต่ละสภาพสมดุล สมดุลเสถียร สมดุลสะเทิน สมดุลไม่เสถียร

ตัวอย่างที่ 2 แท่งวัตถุอันหนึ่งหนัก 50 N แขวนไว้กับเชือกเบาซึ่งผูกเป็นปมที่ O ส่วนปลายอีกสองข้างตรึงไว้กับเพดาน ดังรูป จงหาแรงตึงในเส้นเชือกทั้งสามเส้น ตัวอย่างที่ 3 คานอันหนึ่งวางอยู่บนจุด A และ B ในลักษณะสมดุลภายใต้การกระทำของแรงต่างๆ ดังรูป จงหาแรงที่กระทำต่อคานที่จุด A และ B สมมติคานนี้หนัก 40 N และยาว 8 m 1 m 2 m 1 m 1 m 1.5 m A 40 N B 100 N 200 N 500 N 300 N

***** ขอให้โชคดีในการสอบทุกคน ***** ตัวอย่างที่ 4 บันได AB หนัก 160 N วางพิงอยู่กับกำแพงในลักษณะสมดุล โดยปลายด้านล่างทำมุม 600 กับพื้นดิน จงหาแรงที่กระทำต่อบันไดที่ A และ B A 600 B ***** ขอให้โชคดีในการสอบทุกคน *****