โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

Arrays.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Array.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ตัวแปรชุดของอักขระ String
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
ตัวแปรชุด Arrays.
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ตัวแปรชุด โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

ความหมายของตัวแปรชุด ตัวแปรชุด เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดเดียวกัน เป็นกลุ่มหรือชุดที่เรียงติดต่อกันเป็นแถว มีขอบเขตจำกัดและมีขนาดคงที่ เช่น int x[5]; ข้อมูลชนิดเดียวกัน คือ ข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในตัวแปรชุดจะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น เช่น ถ้าเป็นตัวแปรชุดชนิดจำนวนเต็ม ข้อมูลทุกตัวในตัวแปรชุดก็ต้องเป็นชนิดจำนวนเต็ม ไม่สามารถเก็บข้อมูลต่างชนิดกันได้

ตัวแปรชุด 1 มิติ (One-Dimension Array) การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [ขนาดของตัวแปรชุด]; เช่น float score[5]; score[0] score[1] score[2] score[3] score[4] score 4 bytes

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรชุด 1 มิติ สามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร ค่าที่กำหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ; A[0] A[1] A[2] A[3] A[4] a 10 20 30 40 50

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรชุด 1 มิติ ถ้าในตอนประกาศตัวแปรตัวแปรชุดไม่กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันแล้ว ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นค่าที่ค้างอยู่ในหน่วยความจำช่วงที่เราจองไว้เป็นตัวแปรชุดนั้น ถ้ากำหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปรแต่กำหนดไม่ครบ ในกรณีที่เป็นตัวแปรชุดแบบตัวเลขทั้งจำนวนเต็มและจำนวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกำหนดเป็น 0 โดยอัตโนมัติ เช่น float price[5] = {50.5, 2.25, 10.0} ; price[0] price[1] price[2] price[3] price[4] price 50.5 2.25 10.0 0.0

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรชุด 1 มิติ บางครั้งถ้ากำหนดค่าเริ่มต้นให้แก่ตัวแปรชุดเลย เราไม่จำเป็นต้องใส่ขนาดของตัวแปรชุดก็ได้ เช่น float a[ ] = {1,2,3,4,5} ; ความหมายคือ เป็นการกำหนดตัวแปรตัวแปรชุดของจำนวนจริงแบบ float ขนาด 5 ช่อง แต่ถ้าเรากำหนดตัวแปรตัวแปรชุดโดยไม่ใส่ขนาดของตัวแปรชุด และไม่ได้กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับมัน เช่น int a[ ] ;  ประกาศผิด!!! นั่นคือ เราไม่สามารถประกาศตัวแปรตัวแปรชุดโดยไม่ใส่ขนาดของตัวแปรชุดได้ ยกเว้นมีการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันตั้งแต่แรก

การอ้างถึงสมาชิก ใช้เลขจำนวนเต็มทำหน้าที่เป็นดัชนี (index) เพื่อระบุถึงข้อมูลนั้น โดยระบุชื่อตัวแปรตัวแปรชุด แล้วตามด้วยค่าตำแหน่งที่อยู่ของสมาชิก ในภาษาซี ดัชนีเริ่มตั้งแต่ [0] จนถึง [n-1] ( n = จำนวนของสมาชิกในตัวแปรชุด ) ตัวอย่าง ให้ a เป็นตัวแปรชุดของ int ขนาด 5 ช่อง โดยแต่ละช่องมีข้อมูล 1, 2, 3, 4, 5 ตามลำดับ a[0] a[1] a[2] a[3] a[4] a 1 2 3 4 5

การอ้างถึงสมาชิก (ต่อ) a[0] , ... , a[4] เปรียบเสมือนตัวแปร int ธรรมดา 5 ตัว นั่นคือสามารถนำมากระทำการต่างๆ ได้เหมือนตัวแปรธรรมดา เช่น รับข้อมูลเข้าไปเก็บไว้ในตัวแปรชุด a ตำแหน่งที่ 3 สามารถเขียนเป็นคำสั่งได้ ดังนี้ scanf ( “%d” , &a[3] ) ; i = 3; a[i] = a[i+1] + a[4] ; หมายถึง กำหนดค่าให้ตัวแปร i เท่ากับ 3 นำข้อมูลในตัวแปรชุด a ตำแหน่งที่ i+1 มาบวกกับข้อมูลในตัวแปรชุด a ตำแหน่งที่ 4 แล้วเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในตัวแปรชุด a ตำแหน่งที่ i (นั่นคือ นำ a[4] + a[4] แล้วเก็บผลลัพธ์นี้ไว้ใน a[3] นั่นเอง)

สตริง (string) หรือตัวแปรชุด 1 มิติ ชนิดอักขระ เช่น char code[5]; หมายถึงประกาศให้ตัวแปร code เป็นตัวแปรชุด 1 มิติขนาด 5 ช่อง แต่ละช่องเก็บข้อมูลประเภทอักขระ [0] [1] [2] [3] [4] code

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสตริง char name[ ] = “MWIT School”; จะได้ โดยที่ตำแหน่ง name[11] จะเก็บค่า \0 ไว้อัตโนมัติ เพื่อแสดงการสิ้นสุดข้อความ [0] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [10] [11] name M W I T S c h o l \0 1 byte

การรับและแสดงผลสตริง คำสั่งรับค่า คำสั่งรับค่า ตัวอย่าง scanf(“%s”,ชื่อตัวแปรสตริง); scanf(“%s”,name); gets(ชื่อตัวแปร); gets(name); คำสั่งแสดงค่า คำสั่งแสดงผล ตัวอย่าง printf(“%s”,ชื่อตัวแปรสตริง); printf(“%s”,name); puts(ชื่อตัวแปร); puts(name);

ตัวอย่าง โปรแกรมรับชื่อและหาความยาวชื่อ แล้วแสดงผลออกทางจอภาพ ตัวอย่าง โปรแกรมรับชื่อและหาความยาวชื่อ แล้วแสดงผลออกทางจอภาพ ชื่อฟังก์ชัน ความหมาย Library strlen(ชื่อตัวแปร) หาความยาวสตริงของตัวแปรที่ระบุ string.h 1 #include<stdio.h> 2 #include<string.h> 3 void main() 4 { char name[20]; 5 int size; 6 printf(“Please enter your name: ”); 7 gets(name); 8 size = strlen(name); 9 printf(“Hello %s\n”, name); 10 printf(“Your name has %d characters”, size); 11 }

ตัวอย่าง โปรแกรมรับชื่อและคัดลอกข้อความ แล้วแสดงผลออกทางจอภาพ ตัวอย่าง โปรแกรมรับชื่อและคัดลอกข้อความ แล้วแสดงผลออกทางจอภาพ ชื่อฟังก์ชัน ความหมาย Library strcpy(ชื่อตัวแปร1,ข้อความ/ชื่อตัวแปร2) คัดลอกข้อความหรือค่าในตัวแปร 2 ไปเก็บไว้ใน ตัวแปร 1 string.h 1 #include<stdio.h> 2 #include<string.h> 3 void main() 4 { 5 char s1[30], s2[30]; 6 printf(“Please enter string1: ”); 7 gets(s1); 8 strcpy(s2, “ขุน”); 9 printf(“s1 : %s\n”, s1); 10 printf(“s2 : %s\n”, s2); 11 }

ตัวอย่าง โปรแกรมรับข้อความ 2 ข้อความแล้วตรวจสอบว่าคำใดมาก่อน-หลัง แล้วแสดงผลทางจอภาพ ชื่อฟังก์ชัน ความหมาย Library strcmp(ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2) เปรียบเทียบลำดับสตริงระหว่าง ตัวแปร 1 และตัวแปร 2 โดย ถ้าลำดับตัวอักษรใน ตัวแปร1 มาก่อน ตัวแปร2 แสดงว่า ตัวแปร1 < ตัวแปร2 ดังนั้นจะได้เงื่อนไขดังนี้ ตัวแปร1 < ตัวแปร2 ฟังก์ชันจะให้ค่าติดลบ ตัวแปร1 == ตัวแปร2 ฟังก์ชันจะให้ค่าเท่ากับ 0 ตัวแปร1 > ตัวแปร2 ฟังก์ชันจะให้ค่าเป็นบวกที่มากกว่า 0 string.h 1 char s1[30], s2[30]; 2 int x; 3 printf(“Please enter string1: ”); gets(s1); 4 printf(“Please enter string2: ”); gets(s2); 5 x = strcmp(s1, s2); 6 if (x < 0) printf(“%s\n%s”, s1, s2); 7 else if(x > 0) printf(“%s\n%s”, s2, s1); 8 else printf(“similar strings”);

ตัวอย่างโปรแกรมต่อข้อความโดยใช้ strcat แล้วแสดงผลออกทางจอภาพ ชื่อฟังก์ชัน ความหมาย Library strcat(ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2) รวมสตริงในตัวแปร 2 ไปต่อท้าย ตัวแปร 1 แล้วเก็บสตริงที่ต่อกันแล้วไว้ในตัวแปร 1 string.h 1 #include<stdio.h> 2 #include<string.h> 3 void main() 4 { char s1[20], s2[]=”School”; 5 strcpy(s1,”MWIT ”); 6 printf(“s1 : %s\n”, s1); 7 printf(“s2 : %s”, s2); 8 strcat(s1, s2); 9 printf(“After strcat\n”); 10 11 12 }

ตัวแปรชุด 2 มิติ (Two-Dimension Array) การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [row][column]; เช่น int b[3][4]; Column (คอลัมน์) b [0] [1] [2] [3] Row (แถว) b[0][0] b[0][1] b[0][2] b[0][3] b[1][0] b[1][1] b[1][2] b[1][3] b[2][0] b[2][1] b[2][2] b[2][3]

ตัวแปรชุด 2 มิติ (Two-Dimension Array) การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรชุด 2 มิติ int num[2][3] = {11,12,13,21,22,23}; int num[2][3] = { {11,12,13} , {21,22,23} }; int num[ ][3] = { {11,12,13} , {21,22,23} }; num [0] [1] [2] 11 12 13 21 22 23

ตัวแปรชุดหลายมิติ (Multi-Dimension Array) การประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร [row][column][ชั้น]; เช่น int G[4][2][3]; ชั้น 0 ชั้น 1 ชั้น 2