Photochemistry.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Electronic Transition
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
Ground State & Excited State
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
Luminescence Spectroscopy
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
การสะท้อนและการหักเหของแสง
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
( wavelength division mux)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
การฝึกอบรมการใช้เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
ครีมกันแดด (Sunscreen).
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Magnetic Particle Testing
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
ยางพอลิไอโซพรีน.
กล้องโทรทรรศน์.
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
พันธะเคมี.
Molecular Ultraviolet/Visible Absorption Spectroscopy
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Photochemistry

เนื้อหาสำหรับ 15 ชั่วโมง - บทนำ และทฤษฎีพื้นฐานทางโฟโตเคมี - การเปลี่ยนแปลงสถานะของอิเล็กตรอนและพลังงาน - Jablonski Diagram และกระบวนการโฟโตเคมีแบบต่าง ๆ - โครงสร้างทางอิเล็กตรอนและชนิดของการแทรนซิชัน - สมบัติสถิติและสมบัติพลวัตของสถานะกระตุ้น

ปฏิกิริยาเกิดที่สภาวะพื้น (ground state) ทุกระบบได้รับพลังงานพร้อมกัน Thermochemistry Reactants Products D A + B C + D DH = ... ปฏิกิริยาเกิดที่สภาวะพื้น (ground state) ทุกระบบได้รับพลังงานพร้อมกัน เกิดปฏิกิริยาได้กับทุกโมเลกุลที่เกิดการชนกัน เกิดสารผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิด

Photochemical Reaction: E = hn M M* Products hn : UV - VIS (200 -800 nm) ปฏิกิริยาเกิดที่สภาวะกระตุ้น (excited state) มีเพียงบางโมเลกุลเท่านั้นที่ได้รับพลังงาน ปฏิกิริยาจะเกิดเฉพาะกับโมเลกุลที่ได้รับแสง เกิดสารผลิตภัณฑ์เฉพาะชนิดที่เกี่ยวข้อง

อะตอมหรือโมเลกุลได้รับแสง ในช่วงUltraviolet (UV) หรือ ในช่วงที่มองเห็นได้ดัวยตาเปล่า (VISIBLE) แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น เกิดการคายแสง หรือ เกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นต้น

wavelength 200 400 800 nm UV VIS Ultraviolet Visible

- ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) - ปฏิกิริยาโพลิเมอไรเซชัน - การสังเคราะห์แสง (Synthesis) - การสลายตัว (Decomposition) - การเปลี่ยนไอโซเมอร์ (Isomeric Change) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น - ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) - ปฏิกิริยาโพลิเมอไรเซชัน (Polymerization)

Synthesis : hn C6H6 (C6H5)2CO + (C6H5)2CHOH (C6H5)2-C-C-(C6H5)2 benzo- benzhydrol benpinacol phenone

Isomeric : hn N = N N = N C6H5 C6H5 C6H5 C6H5 (cis - azobenzene) (tran - azobenzene)

Decomposition: O hn CH3-C-CH3 CH3-CH3 + CO 313 nm (ethane) (ketone)

PHOTOCHEMISTRY E = hn E1 E0 สภาวะพื้น สภาวะเร้า (สถานะกระตุ้น)

“Spectroscopy” “Spectrophotometry” เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาร่วมระหว่างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electronic wave) หรือคลื่นแสง กับ สสาร (อะตอม โมเลกุล อิออน หรือ อนุมูลอิสระ)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสดง plane-polarized ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่ประกอบด้วยสนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็ก

2. เป็นอนุภาค (particle) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า : เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่แสดงสมบัติ สำคัญ 2 ประการ คือ 1. เป็นคลื่น (wave) 2. เป็นอนุภาค (particle) คลื่น : การหักเห การสะท้อนกลับ การเสริม หรือหักล้างของคลื่นการกระจาย เป็นต้น อนุภาค : Photoelectric effect

ที่เรียกว่า โฟตอน “Photon” และใช้ทฤษฎีของ Planck ปี ค.ศ. 1905 : Albert Einstein อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก โดยเสนอว่า แสง เป็นอนุภาค ที่เรียกว่า โฟตอน “Photon” และใช้ทฤษฎีของ Planck เพื่อกำหนดค่าพลังงานของโฟตอน ปี ค.ศ. 1905 : Albert Einstein อธิบายปรากฏการณ์ โฟโตอิเลคตริค โดยเสนอว่า แสง เป็นอนุภาคที่เรียกว่า “Photon” และใช้ทฤษฎีของ Planck กำหนดค่าพลังงานของโฟตอน

ที่มีความถี่ เท่ากั บ n คิดเป็น 1 ควอนตัม (quantum) อนุภาค 1 โฟตอน ที่มีความถี่ เท่ากั บ n มีพลังงานเท่ากับ hn คิดเป็น 1 ควอนตัม (quantum) E = hn h คือ ค่าคงที่ของ Planck = 6.6262 ด 10-34 J s

ความถี่ขีดเริ่ม (thereshold frequency) เมื่อแสงที่มีความถี่เหมาะสม ตกกระทบผิวหน้าของโลหะ จะทำให้อิเล็กตรอนที่เรียกว่า “โฟโตอิเล็กตรอน” หลุดออกมา พลังงานจลน์ของ โฟโตอิเล็กตรอน ความถี่ของแสง ความถี่ขีดเริ่ม (thereshold frequency) ความถี่ต่ำที่สุดที่ทำให้เกิดกระบวนการ โฟโตอิเล็กตรอน

Electromagnetic spectrum ช่วงสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในวิชาเคมี มีช่วงคลื่นกว้าง ๆ ในช่วงตั้งแต่รังสีแกมมา (g -rays) ที่มีพลังงานสูงสุด(ความยาวคลื่นสั้นที่สุด) ไปจนถึงคลื่นวิทยุ (radio wave) ซึ่งมีพลังงานต่ำสุด (ความยาวคลื่นมากที่สุด)

g -rays X -rays UV VIS IR Microwave Radio wave short max short g -rays Nuclear transition W A V E L E N G T H X -rays Electronic transition (Inner, middle, valence shell) E N E R G Y UV VIS IR Molecular transition (vibration, rotation) Microwave Spin Orientation Radio wave min long