ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
Power Series Fundamentals of AMCS.
Power Series (2) Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)

บทนิยาม 3.3.1 ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง (1) ถ้า s1  s2  s3  …  sn  sn+1  … แล้วเรียก ว่าเป็น ลำดับไม่ลด (non-decreasing sequence) (2) ถ้า s1  s2  s3  …  sn  sn+1  … แล้วเรียก ว่าเป็น ลำดับไม่เพิ่ม (non-increasing sequence) (3) ลำดับทางเดียว คือ ลำดับที่เป็นลำดับไม่ลด หรือ เป็นลำดับไม่เพิ่ม

ตัวอย่าง 1 จงพิจารณาว่า เป็นลำดับทางเดียวหรือไม่ พิจารณา sn+1 – sn = ( 1+ ) – ( 1 + ) = > 0 , n ดังนั้น sn  sn+1 , n จึงได้ว่า เป็นลำดับไม่ลด นั้นคือ เป็นลำดับทางเดียว 

ตัวอย่าง 2 ลำดับต่อไปนี้เป็นลำดับทางเดียว (1) 1, 3, 5, 7, …, 2n – 1, ... เป็นลำดับไม่ลด (2) , , , , ... , , ... เป็นลำดับไม่ลด (3) –1, –4, –7, –10, …, 2 – 3n, ... เป็นลำดับไม่เพิ่ม (4) 1, , , , . . . , , . . . เป็นลำดับไม่เพิ่ม

ลำดับทางเดียวบางลำดับลู่เข้า เช่นตัวอย่าง 2 (2) และ (4) แต่บางลำดับลู่ออก เช่น ตัวอย่าง 2 (1) และ (3) การเป็นลำดับทางเดียวเพียงอย่างเดียวไม่สามารถบอกการลู่เข้า หรือลู่ออกของลำดับได้ แต่ถ้าพิจารณาร่วมกับการมีขอบเขตของลำดับนั้นๆ เราสามารถ ทราบว่าลำดับนั้นเป็นลำดับลู่เข้า หรือลู่ออกได้ ดังทฤษฎีที่จะกล่าวต่อไป

ทฤษฎีบท 3.3.2 ให้ เป็นลำดับไม่ลด และมีขอบเขตบน แล้ว เป็นลำดับลู่เข้า การพิสูจน์ ให้ A เป็นเรนจ์ของลำดับ A = { s1, s2, s3, … } เนื่องจากเซต A มีขอบเขตบน ดังนั้นเซต A จะมี ขอบเขตบนน้อยสุด และให้ M = l.u.b.A คาดว่า sn  M เมื่อ n  

ให้  > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ sk > M –  ,  k เนื่องจาก sn  sn+1 , n ดังนั้น sn > M –  , n  k ..........(1) แต่ M เป็นขอบเขตบน ดังนั้น sn  M , n และ sn < M +  , n ..........(2) จาก (1), (2) จึงได้ว่า M –  < sn < M +  , n  k ดังนั้น | sn – M | <  , n  k นั่นคือ = M

ทฤษฎีบท 3.3.3 ให้ เป็นลำดับไม่ลดและไม่มีขอบเขตบน แล้ว เป็นลำดับที่ลู่ออกสู่บวกอนันต์ การพิสูจน์ ให้ M > 0 จาก ไม่มีขอบเขตบน จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ sk > M แต่ เป็นลำดับไม่ลด ทำให้ sn > M , n  k นั่นคือ sn   เมื่อ n   

ทฤษฎีบท 3.3.4 ให้ เป็นลำดับไม่เพิ่ม และมีขอบเขตล่าง แล้ว เป็นลำดับที่ลู่เข้า การพิสูจน์ (ให้ผู้อ่านพิสูจน์เป็นแบบฝึกหัด) 

ทฤษฎีบท 3.3.4 ให้ เป็นลำดับไม่เพิ่ม และไม่มี ขอบเขตล่าง แล้ว เป็นลำดับที่ลู่ออกสู่ลบอนันต์ การพิสูจน์ (ให้ผู้อ่านพิสูจน์เป็นแบบฝึกหัด) 