(Some Extension of Limit Concept)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
พาราโบลา (Parabola).
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
Power Series Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เฉลยแบบฝึกหัด 1.3 # จงหา ก) ข) ค) (ถ้ามี)
เฉลยแบบฝึกหัด วิธีทำ.
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Some Extension of Limit Concept) ส่วนขยายแนวคิดลิมิต (Some Extension of Limit Concept)

บทนิยาม 4.3.1 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0, ) = { xD | x > x0 } ฟังก์ชัน f จะเรียกว่า มีลิมิตขวา (right-hand limit) ที่ x0 เท่ากับ L ก็ต่อเมื่อสำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ถ้า 0 < x – x0 < , xD ทำให้ | f(x) – L | <  และเขียนแทนด้วย f(x) = L อ่านว่า ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ x0 ทางขวาเท่ากับ L

บทนิยาม 4.3.2 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( –, x0 ) = {xD | x < x0} ฟังก์ชัน f จะเรียกว่า มีลิมิตซ้าย (left-hand limit) ที่ x0 เท่ากับ L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ถ้า 0 < x0 – x < , xD ทำให้ | f(x) – L | <  และเขียนแทนด้วย f(x) = L อ่านว่า ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ x0 ทางซ้ายเท่ากับ L

ทฤษฎีบท 4.3.3 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0, ) แล้ว f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับลำดับ xn ใดๆที่ลู่เข้าสู่ x0 ที่ xnD และ xn > x0 ทุก n แล้วลำดับ ลู่เข้าสู่ L การพิสูจน์ สามารถทำได้ในทำนองเดียวกับ ทฤษฎีบท 4.1.2 

ทฤษฎีบท 4.3.4 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0, ) และ D( –, x0 ) แล้ว f(x) = L ก็ต่อเมื่อ f(x) = L = f(x) การพิสูจน์ ( ) ให้ f(x) = L สำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ที่ 0 < | x – x0 | <  ทำให้ | f(x) – L | <  ดังนั้น f(x) = L = f(x)

( ) ให้  > 0 เนื่องจาก f(x) = L จะมี 1 > 0 ที่ 0 < x – x0 < 1 และ xD ทำให้ | f(x) – L | <  เนื่องจาก f(x) = L จะมี 2 > 0 ที่ 0 < x0 – x < 2 และ xD เลือก  = min { 1, 2 } จะได้ว่า ถ้า 0 < | x – x0 | <  ทำให้ | f(x) – L | <  นั่นคือ f(x) = L 

ลิมิตอนันต์ (Infinite Limits) กำหนด f(x) = เมื่อ x  0 ดังรูป 4.3.1 ฟังก์ชัน f ไม่มีขอบเขตบนย่านของจุด 0 ฟังก์ชัน f ย่อมไม่สอดคล้องกับนิยาม 4.1.1 ทำให้ f ไม่มีลิมิตที่ 0 Y X

ในที่นี้เพื่อความสะดวกจะใช้สัญลักษณ์  (+ ) หรือ – แทนค่าที่ฟังก์ชันไม่มีขอบเขต แต่ต้องคำนึงเสมอว่า  และ – ไม่เป็นจำนวนจริง

บทนิยาม 4.3.5 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D 1) จะกล่าวว่า f มีค่าเข้าใกล้  เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ x0 และเขียนแทนด้วย f(x) =  ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | <  และ xD แล้ว f(x) >  2) จะกล่าวว่า f มีค่าเข้าใกล้ – เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ x0 และเขียนแทนด้วย f(x) = – ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | <  และ xD แล้ว f(x) < –

ทฤษฎีบท 4.3.6 ให้ f, g : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D และ f(x)  g(x) สำหรับทุกๆ xD เมื่อ x  x0 (2) ถ้า g(x) = - แล้ว f(x) = -

การพิสูจน์ (1) กำหนด f(x) =  ให้  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | < , xD ทำให้ f(x) >  เนื่องจาก f(x)  g(x) ทุก xD เมื่อ x  x0 ดังนั้น ถ้า 0 < | x – x0 | < , xD ทำให้ g(x) >  นั่นคือ g(x) =  (2) พิสูจน์เป็นแบบฝึกหัด 

บทนิยาม 4.3.7 ให้ f : D (1) x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0,  ) = { xD | x > x0 } จะเรียก f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x  x0+ และเขียนแทนด้วย f(x) =  [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อสำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < x – x0 <  และ xD แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]

x0 เป็นจุดลิมิตของ D( –, x0 ) = { xD | x < x0 } จะเรียก f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x  x0– และเขียนแทนด้วย f(x) =  [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อสำหรับ  > 0 จะมี  > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < x0 – x <  และ xD แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]

บทนิยาม 4.3.8 ให้ f : D (1) ให้ ( a,  )  D จะเรียก L ว่าเป็น ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้  และเขียนแทนด้วย f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ  > 0 จะมี k > a ซึ่งถ้า x > k ทำให้ | f(x) – L | <  (2) ให้ (–, b )  D จะเรียก L ว่าเป็น ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ – และเขียนแทนด้วย f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ  > 0 จะมี k < b ซึ่งถ้า x < k ทำให้ | f(x) – L | < 

บทนิยาม 4.3.9 ให้ f : D (1) ให้ ( a,  )  D , a จะเรียกว่า f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x เขียนแทนด้วย f(x) =  [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อ  > 0 จะมี k > a ซึ่งถ้า x > k แล้ว f(x) >  [ f(x) < – ]

ให้ (–, b )  D , b จะเรียกว่า f เข้าใกล้  (–) เมื่อ x– เขียนแทนด้วย f(x) =  [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อ  > 0 จะมี k < b ซึ่งถ้า x < k แล้ว f(x) >  [ f(x) < – ]

ทฤษฎีบท 4.3.10 ให้ D  และ f, g : D , ( a, )  D , a ถ้า g(x) > 0 สำหรับ x > a และ = L เมื่อ L , L  0 ถ้า L > 0 แล้ว f(x) =  ก็ต่อเมื่อ g(x) =  ถ้า L < 0 แล้ว f(x) = – ก็ต่อเมื่อ g(x) = 