นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าหลัก ข้อมูลทั่วไป ภูมิประเทศ พืชพรรณและสัตว์ป่า ยอดภูเรือ
Advertisements

Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
จังหวัดสุรินทร์.
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
นางสาว นภาภรณ์ กันทาปา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 14
ด.ช. ยศนนท์ พุทธะ เลขที่21 ม.1/2 เสนอ คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐธัญ สร้างนา โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม อ. แก้งคร้อ จ. ชัยภูมิ
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินทร

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร (หนึ่งเดียวในโลก) ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายนกนางแอ่น (Swallows)   แต่มีขนาดใหญ่กว่า มีความยาวตัว 15 เซนติเมตร ตัวสีดำเหลือบน้ำเงินเข้ม ใต้คอสีน้ำตาลดำ หน้าผากมีขนสีดำคล้ายกำมะหยี่ ขาและแข้งเป็นสีชาพู จุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ นกเจ้าฟ้าฯ จะมีขอบตาสีขาวเป็นวงรอบตาเห็นได้ชัดเจน ทำให้เห็นเหมืนว่าตาของมันพองโปนขึ้นมา ชาวบ้านเรียกนกชนิดนี้ว่า " นกตาพอง" บริเวณสะโพกมีแถบสีขาวขนาดใหญ่เด่นชัด และในขณะที่นกนางแอ่นมีขนหางยาวแฉกลึกนั้น  นกเจ้าฟ้าฯ จะมีหางสั้นกลมมน และนกที่โตเต็มที่แล้วจะมีแกนหางคู่กลางเส้นเล็กๆ 2 เส้น ยี่นยาวออกมาประมาณ 8.5 เซนติเมตร คล้ายหางนกหางบ่วง แต่ปลายบ่วงมีขนาดเล็กมาก มีความกว้างประมาณ 2 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร ปากของนกเจ้าฟ้าฯ มีลักษณะแบนกว้างกว่าปากของนกนางแอ่นมาก

นกพิราบป่า (Rock Pigeon) ลำตัวป้อม หัวเล็ก ขนปกคลุมลำตัวหลากสี แต่ที่พบมากที่สุดมีสีเทาเข้ม และมีแถบใหญ่สีดำขวางที่ปีกสองเส้น คอมีแถบสีเขียวเหลือบ ปากดำและขาแดง เป็นต้นตระกูลของนกพิราบที่เลี้ยงกันอยู่ในปัจจุบัน นกที่พบตามธรรมชาติมักเกาะอยู่ตามสายไฟหรือหลังคาสิ่งปลูกสร้างต่างๆอาหารได้แก่ เมล็ดพืช ผสมพันธุ์ตลอดทั้งปี ทำรังตามสิ่งก่อสร้างหรือซอกหิน วางไข่ครั้งละ 2 ฟอง เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้ง่ายทั่วประเทศ ตามพื้นที่เกษตรกรรม ป่าละเมาะ และป่าโปร่ง  

นกเขาพม่า (Oriental Turtle Dove) ลักษณะคล้ายนกเขาใหญ่ ต่างกันตรงที่มีแถบสีดำข้างคอแบ่งเป็นสองแถบไม่ต่อเนื่องกัน และในแถบเป็นลายขีดขาวไม่เป็นจุดอย่างนกเขาใหญ่ อาศัยอยู่ตามป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง ป่ารุ่น และป่าละเมาะ บางครั้งพบเป็นฝูงใหญ่มาก มักหากินตามพื้นดิน อาหารคือ เมล็ดพืช ขุยไผ่และยอดอ่อนของพืช ผสมพันธุ์เดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม ทำรังตามต้นไม้หรือกิ่งไผ่ สูงจากพื้นดินประมาณ 1.5-3.6 เมตร วางไข่ 2 ฟอง เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้น้อย มีบางส่วนเป็นนกอพยพช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์  

นกเขาใหญ่ , นกเขาหลวง (Spotted Dove) ลำตัวป้อม หัวเล็ก คอ ปากและขาสั้น ขนปกคลุมลำตัวสีน้ำตาล มีขีดสีคล้ำกระจายอยู่ทั่ว หัวมีสีเทา หลังคอตอนล่างมีจุดกลมเล็กๆ กระจายอยู่บนแถบพื้นสีดำ อาศัยอยู่ตามพื้นที่เกษตรกรรม ป่าละเมาะ ทุ่งโล่งและป่าโปร่ง เวลาหากินจะลงมาเดินหากินอยู่ตามพื้นดิน อาหารได้แก่เมล็ดพืช ผสมพันธุ์เดือนมีนาคม ถึงกรกฎาคม ทำรังตามต้นไม้ พุ่มไม้หรือป่าไผ่ วางไข่ครั้งละ 2 ฟอง เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้ทั่วประเทศ

นกเขาเขียว ( Emeral Dove) ปีกและหลังมีสีเขียวสดเป็นเงาวาว ตัวผู้มีหน้าผากและคิ้วขาว บนกระหม่อมมีสีเทาจางๆ ส่วนตัวเมียมีสีตัวหม่นกว่าและบนกระหม่อมมีสีน้ำตาล  อาศัยตามป่าดงดิบในบริเวณที่โล่งเตียน  มักลงมาหากินบนพื้นดินตามลำพัง  และพบได้บ่อยตามริมถนนในป่าต่างๆ อาหารคือ  เมล็ดพืชและแมลงบางชนิด เช่น ปลวก  ผสมพันธุ์เดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน  ทำรังเล็กกกๆ บนต้นไม้ พุ่มไม้ หรือป่าไผ่สูงจากพื้นประมาณ 2- 8 เมตร วางไข่ครั้งละ 2-3 ฟอง เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้บ่อยเกือบทั่วประเทศ 

นกชาปีไหน ( Nicobar Pigoen) ส่วนบนของตัวตั้งแต่ไหล่  ปีก ขนคลุมปีกถึงขนคลุมบนโคนหางมีสีเขียวเหลือบเหลืองและม่วง ขนปลายปีกมีสีดำแกมน้ำเงิน มีขนที่คอยาวเรียก "สร้อยคอ" ซึ่งขนสร้อยคอและหน้าอกตอนบนสีเขียว  อาศัยและหากินอยู่ตามพื้นดินมากกว่าอยู่บนต้นไม้  อาหารได้แก่  เมล็ดพืชและผลไม้เล็กๆ ที่หล่นอยู่ตามพื้นดิน  ผสมพันธุ์เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน วางไข่ครั้งละ 1 ฟอง เป็นนกประจำถิ่นที่หายากในทะเลอันดามัน ตามเกาะต่างๆ เช่น เกาะสุรินทร์ เกาะสิมิลัน         

นกเขาลายเล็ก ( Little Cuckoo Dove) ตัวผู้หัวสีส้ม ด้านบนลำตัวสีน้ำตาลมีลายสีส้ม  หางสีดำ  ด้านล่างลำตัวสีน้ำตาลจาง มีลายสีขาวคาดบนหน้าอก ตัวเมียสีคล้ำกว่าและลายเด่นชัดกว่า  อาศัยอยู่ตามป่าดงดิบ  บางครั้งจะลงมาบนพื้นดินเพื่อกินแมลงเล็กๆ เมล็ดข้าวและเมล็ดพืชบางชนิด  เป็นนกที่ค่อนข้างเชื่อง ผสมพันธุ์เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน ทำรังตามง่ามไม้สูงจากพื้นดินไม่เกิน 8 เมตร  วางไข่ครั้งละ 1-2 ฟอง  เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้น้อยเฉพาะทางด้านเหนือ  

3.ช่วยแพร่กระจายปลูกเมล็ดพืช คุณค่าของนก 1.ช่วยผสมเกสรดอกไม้ 2.กำจัดศัตรูพืช 3.ช่วยแพร่กระจายปลูกเมล็ดพืช