การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
ค่าของทุน The Cost of Capital
การคลังและนโยบาย การคลัง
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting)
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Lecture 8.
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
การประเมินเหตุผลของ ความร่วมมือ ทางการเงินภายใน EA 1.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
Group 1 Proundly Present
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Course Syllabus เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสาหรับวิศวกร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
NIDA Macro Forecast แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2013 – 2014 โดยนิด้าโมเดล
เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
การวางแผนกำลังการผลิต
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3-4/2556 (1 ตุลาคม 2555 – 16 มิถุนายน 2556) สำนักวิชาการและ แผนงาน.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output

การดำเนินนโยบายการเงินต้องคำนึงถึง Potential GDP เพราะ 1. กลไกของนโยบายการเงินไม่ส่งผลในทันที และมีผลต่อเศรษฐกิจนาน ( long lags ) 2. ความน่าเชื่อถือของธนาคารกลางมีความสำคัญมาก 3. ในระยะสั้นต้องระวังถึงการรักษาเสถียรภาพ ที่ไม่ก่อให้เกิดการชะลอตัว Potential Output

การวางกลไกในระยะสั้น ขึ้นกับ เป้าเงินเฟ้อ ผลผลิตตามศักยภาพ ผลผลิตที่เหมาะสมกับแรงงานในตลาด Potential Output

วิธีคำนวณผลผลิตตามศักยภาพ การผลิตที่สอดคล้องกับภาวะเงินเฟ้อ (Non-Accelerating Inflation Rate of Unemployment) การผลิตที่ขจัดผลการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นจากการว่างงาน (Structural Vector Autoregressive) Potential Output

ผลผลิตตามศักยภาพตามภาวะเงินเฟ้อ กำหนดการว่างงานที่เหมาะสม ไม่สร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อ Potential Output

เงินเฟ้อและการว่างงานมีความสัมพันธ์ ในระยะสั้นเท่านั้น อัตราเงินเฟ้อ % 98:Q2 98:Q3 98:Q1 97:Q4 98:Q4 99:Q1 อัตราการว่างงาน % Potential Output

อัตราการว่างงานที่ควรจะเป็น กับอัตราการว่างงานที่เกิดขึ้นจริง % ของกำลัง แรงงานรวม อัตราที่เกิดขึ้นจริง อัตราที่ควรจะเป็น Potential Output

ประสิทธิภาพการผลิตรวม ( Productivity Shocks ) ร้อยละ Potential Output

GDP รายไตรมาส และผลผลิตตามภาวะเงินเฟ้อ พันล้านบาท 2000 y-o-y growth Q2 Q3 Q4 GDP 6.2 2.8 3.1 Output from NAIRU -1.8 -3.4 -1.6 Potential GDP ตามภาวะเงินเฟ้อ GDP Potential Output

ผลผลิตตามศักยภาพตามภาวะเงินเฟ้อ ข้อดี มีทฤษฎีสนับสนุน กำหนด GDP กับตัวแปรอื่นๆ ข้อเสีย อาศัยข้อมูลที่มีคุณภาพ Potential Output

ผลผลิตศักยภาพที่ขจัดผลการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นจากแรงงาน การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ สะท้อนจากข้อมูล การว่างงาน การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ ไม่มีผลต่อผลผลิต ในระยะยาว Potential Output

GDP รายไตรมาส และผลผลิตที่ขจัดการเปลี่ยนแปลงระยะสั้นจากการว่างงาน พันล้านบาท 2000 y-o-y growth Q2 Q3 Q4 GDP 6.2 2.8 3.1 Output from SVAR 4.0 4.5 4.0 Potential GDP จาก SVAR GDP Potential Output

ผลผลิตตามศักยภาพที่ขจัด การเปลี่ยนแปลงระยะสั้นจากการว่างงาน ข้อดี สะท้อนการเปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพการผลิต ข้อเสีย ขึ้นอยู่กับข้อมูลด้านแรงงานมากกว่าวิธีอื่น ๆ ผลผลิตตามศักยภาพเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาที่ใช้ Potential Output

ประเมินความเหมาะสมจาก 1) การอธิบายสถานการณ์ที่เกิดขึ้น 2) สามารถอธิบายเงินเฟ้อได้ดี 3) คุณสมบัติของ Loss Function Potential Output

Output gap จากทั้ง 2 วิธีให้ผลที่คล้ายกัน % ของ GDP Output gap from NAIRU Output gap from SVAR Potential Output

การคำนวณผลผลิตตามศักยภาพ อธิบายเงินเฟ้อได้ต่างกัน NAIRU SVAR รูปสมการ OLS ได้ ได้ รูปสมการ Polynomial ได้ > ได้ Potential Output

ลักษณะของ Loss function ที่ใช้ 0 < r < 1 ค่าถ่วงน้ำหนักตามเวลา W น้ำหนักที่ให้แก่ช่องว่างผลผลิตมีค่าอยู่ระหว่าง 0.5 ถึง 1 Potential Output

ค่า Loss ของช่องว่างผลผลิตที่เกิดจาก NAIRU เน้นเสถียรภาพด้านราคา W Potential Output

ค่า Loss ของช่องว่างผลผลิตที่เกิดจาก SVAR เน้นการขยายตัว W Potential Output

GDP รายไตรมาส และผลผลิตตามศักยภาพจาก วิธี NAIRU และ SVAR พันล้านบาท Potential GDP จาก SVAR Potential GDP จาก NAIRU Actual GDP Potential Output