โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้โดยเน้นทักษะการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ลำดับขั้นความคิดของ Bloom 6. การประเมินค่า (Evaluate) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 3. การนำไปประยุกต์ใช้ (Application) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 1. ความรู้ (Knowledge) ลำดับขั้นความคิดของ Bloom
ลำดับขั้นความคิดของ Bloom (ฉบับปรับปรุง) 6. สร้างสรรค์ (Create) 5. การประเมินค่า (Evaluate) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 3. การนำไปประยุกต์ใช้ (Application) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 1. การจำ (Remember)
ทักษะการคิดระดับสูงกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การคิดแบบมีวิจารณญาณ การรู้คิดที่เกิดจากตนเอง การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา
การคิดแบบมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ มีหลักฐานและมีประสิทธิภาพ ก่อนตัดสินใจว่าจะเชื่อหรือไม่เชื่อ จะทำหรือไม่ทำ การคิดอย่างมีวิจารณญาณต้องอาศัยกระบวนการประเมิน การคิดแบบมีวิจารณญาณ
ลักษณะสำคัญของการคิดแบบวิจารณญาณ นิยามปัญหา ประมวลข้อมูล จัดระบบข้อมูล ตั้งสมมติฐาน สรุปข้ออ้างอิง ประเมินการสรุปอ้างอิง
ทักษะย่อยของการคิดแบบวิจารณญาณ การตีความ : เล่าเรื่อง อธิบาย การวิเคราะห์ : ระบุความสัมพันธ์ จำแนกองค์ประกอบ จัดกลุ่มเหมือน แตกต่าง สรุปความ การประเมิน : ค้นหา ตรวจสอบ วิจารณ์ข้อดีข้อเสีย การอนุมาน : คาดการณ์ หาทางเลือก หาข้อสรุป การอธิบาย : บอกผลลัพธ์ เสนอความคิดเห็น โต้แย้ง ยกตัวอย่าง ให้เหตุผล ชี้แนวทางปฏิบัติ การตรวจสอบเพื่อพัฒนาตนเอง : ประเมินตนเอง ปรับปรุง พัฒนา ตนเอง
การรู้คิดที่เกิดจากตนเอง คิดวิธีการหา ความหมาย หลักการ แนวคิด ใจความสำคัญ รายละเอียด คิดวิธีการ วางแผน หาวิธีการทำงานให้สำเร็จ คิดวิธีการ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข ทบทวนความคิด ของตนเอง
การคิดสร้างสรรค์ การใช้ความคิดเชิงประยุกต์จากความคิดทั่วไป เพื่อให้ได้ผลงานใหม่ที่เป็นประโยชน์ ระดับ 1 ได้ผลงานตามสั่ง ระดับ 2 ได้ผลงานตามสั่ง มีเพิ่มเติมเล็กน้อย ระดับ 3 ได้ผลงานตามสั่งมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น ระดับ 4 ได้ผลงานแปลกใหม่
การคิดแก้ปัญหา การอย่างวิเคราะห์หาสาเหตุ วิเคราะห์บริบทมุมมองต่าง ๆ เปรียบเทียบ จำแนกประเภทข้อมูล เพื่อการตัดสินใจเลือกทางเลือก ทดลองทางเลือกเพื่อหาข้อสรุป ในการแก้ปัญหา การคิดแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบทักษะการคิดภาษาไทย การนำไปใช้ (Application) ความสามารถ 1) นำหลักวิชาไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ 2) แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ 3) ยกตัวอย่าง สาธิตสิ่งที่เรียนรู้ในรูปแบบใหม่
ตัวอย่างคำถามการนำไปใช้ คำพูดใดเป็นคำพูดเชิงสร้างสรรค์ การแต่งเพลงไทยใช้หลักการเดียวกับสิ่งใด จากข้อความที่ขีดเส้นใต้ควรปรับแก้ข้อความอย่างไรจึงเหมาะสม สำนวนใดมีลักษณะเหมือน “ ไก่ได้พลอย”
การวิเคราะห์ คำถามแบบวิเคราะห์เป็นคำถามแยกแยะส่วนย่อย ๆ ของเหตุการณ์ การวิเคราะห์ต้องใช้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้มาประกอบ วิเคราะห์ความสำคัญ มักจะมี “ที่สุด” คำตอบถูกทุกข้อ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เหตุกับผล สอดคล้อง ขัดแย้ง วิเคราะห์หลักการ
ตัวอย่างคำถามวิเคราะห์ ควรตั้งชื่อบทความนี้ว่าอย่างไร อ่านหนังสือโดยวิธีใดเข้าใจมากที่สุด ข้อความนี้กล่าวถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ เหตุใดจึงกล่าวเช่นนั้น การกระทำนี้ผู้กระทำยึดคติใด บทความนี้ผู้เขียนมีทัศนะอย่างไรต่อชีวิต
การสังเคราะห์ ความสามารถในการวมสิ่งต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปเข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นสิ่งใหม่ การใช้ภาษาเพื่อแต่งคำประพันธ์ เรียงความ เป็นการสังเคราะห์ 1) สังเคราะห์ข้อความ การพูด การเขียน แสดง 2) สังเคราะห์แผนงาน วางแผนเพื่อแสดงบทบาทสมมติ 3) สังเคราะห์ความสัมพันธ์
ตัวอย่างคำถาม เขียนเรียงความ สุนทรพจน์ วิจารณ์ แต่งเรื่องสั้นให้สอดคล้องกับ “ เฒ่าหัวงู” เขียนกลอนแสดงความเสียใจในเหตุการณ์สึนามิ เขียนกาพย์แสดงความปลื้มปิติฉลองสิริราชย์ 60 ปี ออกแบบแผ่นพับประชาสัมพันธ์งานโรงเรียน
การประเมินค่า ความสามารถในการตัดสินเกี่ยวกับคุณค่าของความคิดทุกชนิด เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ตัวอย่างคำถามประเมินค่า ...เป็นการกระทำที่ถูกต้องหรือไม่ ...สอดคล้องกับเกณฑ์ของเรื่องนั้นหรือไม่ ควรใช้วิธีใดเหมาะสมกับสภาพนี้ บทความนี้มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร