โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สนามกีฬา.
Advertisements

ด.ญ.ไพลิน จงจำรัสพันธ์ ม.2/3
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พิณอีสาน.
จัดทำโดย นางสาวอัคคณัฏฐา อำไพ
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ปิงปองแสนสนุก ประวัติปิงปอง.
การตบ (Spike) การตบ (Spike) เป็นทักษะที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจในการแข่งขัน เป็นทักษะที่จูงใจให้เด็กๆ อยากเล่นวอลเลย์บอลมากที่สุด สำหรับเนื้อหาในตอนนี้เป็นภาพรวมในด้านต่างๆ.
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Points, Lines and Planes
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
Basic Graphics by uddee
ระบบการพิมพ์.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
Tangram.
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
Classification Abstraction
วิชากีฬา 3 (พ.013 บาสเกตบอล )
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
การละเล่นของไทย จัดทำโดย ด.ญ.พรหมพร แสงผึ้ง ด.ญ.พัชราภา มหาวิจิตร เสนอ
กีฬาพื้นบ้านไทย จัดทำโดย เด็กชายภูมศักย์ ภูโปร่ง ม.1/2 เลขที่10
ธงชาติอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.ชนกนันท์ เนาวะบุตร ด.ญ.อารีรัตน์ อ่อนสี
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
แบบฟอร์มใบสมัครการแข่งขันฟุตซอลงานวันกีฬาแห่งชาติ รุ่นอายุต่ำกว่า 30 ปี ( ไม่ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชน ) ผู้จัดการทีม
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
Touch Screen.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
เลื่อยมือ hack saw.
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
DNA สำคัญอย่างไร.
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
เรื่อง ทักษะการเล่นวอลเล่ย์บอล
วิวัฒนาการของม้า.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
กติกาข้อ 17 การเล่นลูกจากประตู (The Corner Kick)
กติกาลีลาศ ข้อที่ 14 การแข่งขันชิงแชมเปี้ยนฟอร์เมชั่นนานาชาติ ( International Formation Championships ) 1.การจัดการแข่งขันชิงแชมเปี้ยน Formation อาจจัดขึ้นได้
กติกาการแข่งขันกรีฑา
กติกาข้อ 2 ลูกบอล (The Ball)
หมากเขียว MacAthur Palm
โดยเด็กหญิงประกอบ มีมูซอ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/8
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
เครื่องมือวัดและตรวจสอบ
ให้นักเรียนออกแบบงานนำเสนอ เรื่อง กล้องดิจิตอล D-SLR
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ดาวพุธ (Mercury).
ดนตรีสากล จัดทำโดย เด็กชายศิณุพงศ์ เกาะแก้ว ม.1/6 เลขที่ 9 เสนอ
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
แบบฝึกการเล่นลูกมือล่างสำหรับผู้หัดเล่นวอลเลย์บอล
กีฬาฟุตบอล. จัดทำโดย ด. ช. ธนันต์ชัย สมมาตย์ ชื่อเล่น โอ ที่อยู่ 22 ม.4 ต. โคกยาง อ. เหนือ คลอง จ. กระบี่ เบอร์โทรศัพท์
“~เครื่องดนตรีสากล~”
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์ ประวัติปิงปอง โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์

ประวัติกีฬาปิงปอง เท่าที่มีหลักฐานบันทึกพอให้ค้นคว้า  ทำให้เราได้ทราบว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสได้เริ่มขึ้นที่ประเทศอังกฤษ  ในปี ค.ศ.  1890  ในครั้งนั้น  อุปกรณ์ที่ใช้เล่นประกอบด้วย  ไม้  หนังสัตว์  ลักษณะคล้ายกับไม้เทนนิสในปัจจุบันนี้   หากแต่ว่าแทนที่จะขึงด้วยเส้นเอ็นก็ใช้แผ่นหนังสัตว์หุ้มไว้แทน  ลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์  เวลาตีกระทบถูกพื้นโต๊ะและไม้ก็เกิดเสียง “ปิก-ป๊อก”  ดังนั้น  กีฬานี้จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งตามเสียงทีได้ยินว่า  “ปิงปอง” (PINGPONG)  ต่อมาก็ได้มีการวิวัฒนาการขึ้นโดยไม้หนังสัตว์ได้ถูกเปลี่ยนเป็นแผ่นไม้แทน  ซึ่งได้เล่นแพร่หลายในกลุ่มประเทศยุโรปก่อน        วิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้นนี้เป็นการเล่นแบบยัน (BLOCKING)  และแบบดันกด  (PUSHING)  ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบ  BLOCKING และ CROP  การเล่นถูกตัด  ซึ่งวิธีนี้เองเป็นวิธีการเล่นที่ส่วนใหญ่นิยมกันมากในยุโรป  และแพร่หลายมากในประเทศต่าง ๆ  ทั่วยุโรป  การจับไม้ก็มีการจับไม้อยู่  2  ลักษณะ  คือ  จับไม้แบบจับมือ  (SHAKEHAND)  ซึ่งเราเรียกกันว่า  “จับแบบยุโรป”  และการจับไม้แบบจับปากกา (PEN-HOLDER)  ซึ่งเราเรียกกันว่า “จับไม้แบบจีน”  นั่นเอง       ในปี ค.ศ. 1900  เริ่มปรากฏว่า  มีไม้ปิงปองที่ติดยางเม็ดเข้ามาใช้เล่นกัน  ดังนั้นวิธีการเล่นแบบรุกหรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE)  เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้น  และยุคนี้จึงเป็นยุคของนายวิตเตอร์  บาร์น่า (VICTOR BARNA)  อย่างแท้จริง  เป็นชาวฮังการีได้ตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกประเภททีม  รวม 7 ครั้ง  และประเภทชายเดี่ยว  5 ครั้ง  ในปี ค.ศ. 1929-1935  ยกเว้นปี  1931  ที่ได้ตำแหน่งรองเท่านั้น  ในยุคนี้อุปกรณ์การเล่น โดยเฉพาะไม้มีลักษณะคล้าย ๆ กับไม้ในปัจจุบันนี้ วิธีการเล่นก็เช่นเดียวกัน คือมีทั้งการรุก (ATTRACK)  และการรับ (DEFENDIVE)  ทั้งด้าน  FOREHAND  และ  BACKHAND  การ จับไม้ก็คงการจับแบบ  SHAKEHAND  เป็นหลัก  ดังนั้นเมื่อส่วนใหญ่จับไม้แบบยุโรป  แนวโน้มการจับไม้แบบ PENHOLDER  ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปมีน้อยมากในยุโป  ในระยะนั้นถือว่ายุโรปเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองอย่างแท้จริง

กติการเล่นปิงปอง 1.1 พื้นหน้าด้านบนของโต๊ะเรียกว่า “พื้นผิวโต๊ะ” จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีความยาว 2.74 เมตร ( 9 ฟุต) ความกว้าง 1.525 เมตร ( 5 ฟุต) และจะต้องสูงได้ระดับ โดยวัดจากพื้นที่ตั้งขึ้นมาถึงพื้นผิวโต๊ะสูง 76 เซนติเมตร ( 2 ฟุต 6 นิ้ว ) 1.2 พื้นผิวโต๊ะให้รวมถึงขอบบนสุดของโต๊ะ แต่ไม่รวมถึงด้านข้างของโต๊ะที่อยู่ต่ำกว่าขอบบนสุดของโต๊ะลงมา 1.3 พื้นผิวโต๊ะอาจทำด้วยวัสดุใดๆ ก็ได้ แต่จะต้องมีความกระดอนสม่ำเสมอ เมื่อเอาลูกเทเบิลเทนนิสมาตรฐานทิ้งลงในระยะสูง 30 เซนติเมตร ลูกจะกระดอนขึ้นมาประมาณ 23 เซนติเมตร 1.4 พื้นผิวโต๊ะจะต้องเป็นสีเข้มสม่ำเสมอและเป็นสีด้านไม่สะท้อนแสง ขอบด้านบนของพื้นผิวโต๊ะทั้ง 4 ด้านจะทางด้วยสีขาว มีความกว้าง 2 เซนติเมตร เส้นของพื้นผิวโต๊ะด้านยาว 2.74 เมตรทั้งสองข้างเรียกว่า “เส้นข้าง” เส้นของพื้นผิวโต๊ะด้านกว้าง 1.525 เมตร ทั้งสองข้างเรียกว่า “เส้นสกัด” 1.5 พื้นผิวโต๊ะจะถูกแบ่งออกเป็นสองแดนเท่าๆ กัน กั้นด้วยเน็ตซึ่งขึงตั้งฉากกับพื้นผิวโต๊ะ และขนานกับเส้นสกัดโดยตลอด 1.6 สำหรับประเภทคู่ ในแต่ละแดนจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กันด้วยเส้นสีขาวขนาดกว้าง 3 มิลลิเมตร โดยขีดขนานกับเส้นข้างเรียกว่า “เส้นกลาง” และให้ถือว่าเส้นกลางนี้เป็นส่วนหนึ่งของคอร์ตด้านขวาของโต๊ะด้วย 1.7 ในการแข่งขันระดับมาตรฐานสากลโต๊ะเทเบิลเทนนิสที่ใช้สำหรับแข่งขันจะต้องเป็นยี่ห้อและชนิดที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติเท่านั้น และในการจัดการแข่งขันจะต้องระบุสีของโต๊ะที่จะใช้แข่งขันลงในระเบียบการแข่งขันด้วยทุกครั้ง