5ส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
งานบริการการศึกษา.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ด้วยสำนักงานอัยการสูงสุดได้จัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน ของบุคลากรสำนักงานอัยการสูงสุด ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๕ โดย แบ่งการดำเนินกิจกรรม เป็น.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
สำหรับอบรมบุคลากร และสอนนักเรียน
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5ส

กิจกรรม 5ส เป็นกระบวนการหนึ่งที่เป็นระบบมีแนวปฏิบัติที่เหมาะสม สามารถนำมาใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขและรักษาสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงานให้ดีขึ้น ทั้งในส่วนงานด้านการผลิต และด้านการบริการ ซึ่งนำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร ได้อีกทางหนึ่ง 5ส คืออะไร

5ส สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย

สะสาง Seiri ทำให้เป็นระเบียบ คือ การแยกระหว่างของที่จำเป็นต้องใช้กับของ ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ขจัดของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทิ้งไป สะดวก Seiton วางของในที่ที่ควรอยู่ คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้ ให้เป็นระเบียบสามารถหยิบใช้งานได้ทันที สะอาด Seiso ทำความสะอาด คือ การปัดกวาดเช็ดถูสถานที่ สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ให้สะอาดอยู่เสมอ สุขลักษณะ Seiketsu รักษาความสะอาด คือ การรักษา และปฏิบัติ 3ส ได้แก่ สะสาง สะดวก และสะอาดให้ดีตลอดไป สร้างนิสัย Shitsuke ฝึกให้เป็นนิสัย คือ การรักษาและปฏิบัติ 4ส หรือสิ่งที่กำหนดไว้แล้วอย่างถูกต้องจนติดเป็นนิสัย

ประโยช น์จาก กิจกรร ม 5ส 1. บุคคลจะทำงานได้รวดเร็วขึ้น 2. เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ จะเกิดขึ้น บุคลากรจะรักหน่วยงานมากขึ้น 3. บุคลากรจะมีระเบียบวินัยมากขึ้น 4. บุคลากรปฏิบัติตามกฎระเบียบ และคู่มือการปฏิบัติงานทำให้ ความผิดพลาดและความเสี่ยงต่าง ๆ ลดลง 5. บุคลากรจะมีจิตสำนึกของการปรับปรุง ซึ่งจะนำไปสู่ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการทำงาน 6. เป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ 7. การไหลเวียนของวัสดุ และ work in process จะราบรื่นขึ้น 8. พื้นที่ทำงานมีระเบียบ มีที่ว่าง สะอาดตา สามารถสังเกตสิ่งผิดปกติ ต่างๆ ได้ง่าย 9. การใช้วัสดุคุ้มค่า ต้นทุนต่ำลง ประโยช น์จาก กิจกรร ม 5ส

ขั้นตอน ดำเนินงาน 5ส

1.ขั้นเตรียมการ (Perparation) เมื่อหน่วยงานจะเริ่มต้นนำกิจกรรม 5 ส.มาใช้ สิ่งแรกที่จะต้อง ดำเนินการคือ การทำความเข้าใจกับผู้บริหารระดับสูง และจัดเตรียม แผนการดำเนินกิจกรรม ซึ่งสามารถดำเนินการตามลำดับดังนี้ 1.1 สร้างความเข้าใจกับผู้บริหารระดับสูง 1.2 การกำหนดนโยบายการดำเนินกิจกรรม 5 ส. โดยผู้บริหารสูงสุด 1.3 การกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม 5 ส. 1.4 ประกาศนโยบายให้ทุกคนทราบอย่างเป็นทางการ 1.5 อบรมให้ความรู้แก่พนักงานทุกคน 1.6 ผู้บริหารระดับสูง เยี่ยมชมหน่วยงานที่ได้ดำเนินกิจกรรม 5 ส. อย่างต่อเนื่อง

2.ขั้นเริ่มดำเนินการ (Kick off Project) จัดกิจกรรมวันทำความสะอาดใหญ่ (Big cleaning Day) ถือเป็นวันเริ่มต้นของการดำเนินกิจกรรม กิจกรรมวันทำ ความสะอาดใหญ่นี้มีความสำคัญและต้องเตรียมการอย่าง ละเอียดรอบคอบมีการประชุมเตรียมการต่างๆ และแบ่ง หน้าที่ความรับผิดชอบ

3.ขั้นตอนดำเนินการ (Implementation) แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ ทุกพื้นที่จะต้องกำหนดแผนปฏิบัติติการ หัวข้อต่าง ๆ ที่ควรมีอยู่ในการ ดำเนินกิจกรรม 5ส. คือ รายละเอียดกิจกรรม เป็นการกำหนดกิจกรรมในเรื่อง 5ส. ของพื้นที่ว่ามีอะไรบ้างตามขั้นตอนการ ดำเนินกิจกรรม5ส. ระยะเวลาดำเนินการ จะต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าช่วงใดจะทำอะไร ใช้เวลาเท่าไรใน การดำเนินงาน และระยะเวลาสิ้นสุดของแผนเมื่อใด เช่น แผน 1 ปี , แผน 2 ปี ผู้รับผิดชอบ ในแผนควรกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละหัวข้อไว้ด้วย แผนที่ดีควรจะระบุให้ชัดเจนว่าแต่ละขั้นตอนใช้งบประมาณเท่าใด วันที่จัดทำแผน เพื่อให้ทราบว่าแผนการดำเนินการนั้นทำไว้ตั้งแต่เมื่อใด มีการประชุมของสมาชิกที่อยู่ในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ทุกคนในพื้นที่ต้องทำ 3 ส. แรกในพื้นที่รับผิดชอบรายละเอียดของการทำกิจกรรม จัดให้มีการประเมินความคืบหน้าของการดำเนินกิจกรรม

บรรณานุกรม อรวรรณ เทพนิยม.(2561). หลักการ5ส.สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561. จาก http://www.softbankthai.com/Article/Detail/826. Piyawitk.(2559). 5ส คืออะไร.สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561.จาก https://reg7.pwa.co.th/kmr7/?p=421.