โปรตีน Protein.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
Nickle.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
โครเมี่ยม (Cr).
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
การออกแบบและเทคโนโลยี
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ครูปฏิการ นาครอด.
Basic Input Output System
ชั่วโมงที่ 38 โปรตีนในร่างกาย
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ ชื่อบริษัท : ชื่อในทางการค้า : (ไทย) (อังกฤษ)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
Alkyne และ Cycloalkyne
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
Tree.
Structure of Flowering Plant
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ชีวโมเลกุล.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรตีน Protein

กรดอะมิโน (Amino acid) เป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ประกอบด้วย

การเกิดพันธะเพปไทด์ (peptide bond)

การเกิดพันธะเพปไทด์ (peptide bond)

กรดอะมิโนปกติ

กรดอะมิโนจำเป็น คือ กรดอะมิโนชนิดร่างกายสังเคราะห์ขึ้นเองไม่ได้ กรดอะมิโนจำเป็นสำหรับคนมี 10 ชนิด ได้แก่ อาร์จินีน (arginine) ฮิสทิดีน (histidine) ไอโซลิวซีน (isoleucine) ลิวซีน (leucine) ทรีโอนีน (threonine) เมไทโอนีน (methionine) ฟีนิลอะลานีน (phenylalanine) ไลซีน (lysine) ทริปโตเฟน(tryptophane) เวลีน (valine)

วิธีการอ่านชื่อ การเขียนชื่อกรดอะมิโนใช้สัญลักษณ์เป็นอักษร 3 ตัว เช่น alamine (Ala) , Glycine (Gly) ให้เรียกชื่อกรดอะมิโนเป็นลำดับแรก และลำดับถัดมา โดยเปลี่ยนคำลงท้ายจาก -อีน (-ine) เป็น -อิล (-yl) แล้วต่อด้วยกรดอะมิโน

โครงสร้างโปรตีน กรดอะมิโน 2 โมเลกุล เรียกว่า ไดเพปไทด์ (dipeptide) กรดอะมิโน 3 โมเลกุล เรียกว่า ไตรเพปไทด์ (tripeptide) กรดอะมิโนหลายโมเลกุล เรียกว่า พอลิเพปไทด์ (polypeptide)

โครงสร้างโปรตีน โครงสร้างปฐมภูมิ (Primary structure) โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure) โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure) โครงสร้างจตุรภูมิ (quaternary structure)

โครงสร้างปฐมภูมิ (Primary structure) เป็นโครงสร้างที่แสดงการจัดลำดับ ชนิด และ จำนวนโมเลกุลของกรดอะมิโนในสายพอลิเมอร์โซ่ยาว การจัดลำดับกรดอะมิโนโครงสร้างปฐมภูมิกำหนดให้ปลายหมู่อะมิโนอยู่ด้านซ้าย (N-terminal)  และ ปลายคาร์บอกซิลิกอยู่ด้านขวา (C-terminal) เช่น insulin

โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure)

โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure)

โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure)

โครงสร้างทุติยภูมิ (secondary structure)

โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure) ประกอบด้วยโครงสร้างทุติยภูมิหลายส่วนรวมกัน โดยมีแรงยึดเหนียวอ่อนๆ โครงสร้างตติยภูมิของโปรตีนแต่ละชนิดมีลักษณะจำเพาะขึ้นอยู่กับลำดับของกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์

โครงสร้างจตุรภูมิ (quaternary structure) เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ โดยมีแรงยึดเหนี่ยวหน่วยย่อยเข้าด้วยกัน ลักษณะโครงสร้างใหม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตติยภูมิซึ่งเป็นหน่วยย่อย โดยอาจรวมกันเป็นลักษณะเป็นก้อนกลม เช่น ฮีโมโกลบินหรือเป็นมัดเส้นใย เช่น คอลลาเจน

โครงสร้างจตุรภูมิ (quaternary structure)

ชนิดและหน้าที่ของโปรตีน โปรตีนเส้นใย (fiber protein) เกิดจากสายพอลิเพปไทด์หลายเส้นเรียงขนานกัน และพันรอบกันเองคล้ายเส้นเชือก ละลายนําได้น้อยส่วนใหญ่ทำหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง เพราะมีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง เช่น ไฟโบรอินในเส้นไหม อีลาสตินในเอ็น คอลลาเจนในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เคราตินในผม ขน เล็บ

ชนิดและหน้าที่ของโปรตีน โปรตีนก้อนกลม (globular protein) เกิดจากสายพอลิเพปไทด์ม้วนขดพันกันเป็นก้อนกลมละลายน้ำได้ดี ส่วนใหญ่ทำหน้าที่เกี่ยวกับเมทาบอลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ เอนไซม์ ฮอร์โมนอินซูลิน ฮีโมโกลบิน

เอนไซม์ (Enzyme) เอนไซม์เป็นโปรตีน มีลักษณะก้อนกลม ทำหน้าที่ เร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงของสารอาหารต่างๆ ในร่างกาย และมีความจำเพาะต่อปฏิกิริยาและสารที่ช่วยเร่งปฏิกิริยาโดยไม่ต้องเพิ่มอุณหภูมิหรือเปลี่ยนแปลงค่า pH ซึ่งส่งผลให้ร่างกายสามารถควบคุมปฏิกิริยาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 

การเรียกชื่อเอนไซม์ (Enzyme) การเรียกชื่อเอนไซม์ ให้เรียกชื่อเหมือนสับสเตรทที่เกิดปฏิกิริยากับเอนไซม์แล้วลงท้ายพยางค์เป็น เ-ส เช่น ซูโครส เป็น ซูเครส อะไมโลส เป็น อะไมเลส มอลโทส เป็น มอลเทส

สมบัติของเอนไซม์ มีความจำเพาะเจาะจง เอนไซม์ชนิดหนึ่งใช้ได้กับสับสเตรตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น เอมไซม์ทําหน้าที่เป็นตัวเร่งที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถเร่งปฏิกิริยาได้หลายเท่ามากกว่าเมื่อไม่ใส่เอมไซม์

การทำงานของเอนไซม์

การทำงานของเอนไซม์   

ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ อุณหภูมิ เอนไซม์จะทำงานได้ดีจะต้องอยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม 2) pH เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยา หาก pH ไม่เหมาะสมจะทำให้เอนไซม์ทำหน้าที่ไม่เต็มที่  

ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ 3) ความเข้มข้นของเอนไซม์ หากเพิ่มความเข้มข้นจะช่วยเร่งปฏิกิริยาให้เกิดเร็วขึ้น แต่ถ้ามากเกินพออัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่าคงที่ 4) ปริมาณสารตั้งต้น มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ เมื่อเพิ่มสับสเตรต อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น แต่เมื่อยิ่งเพิ่มปริมาณของสับสเตรตมากเกินพอ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะไม่เกิดเร็วขึ้น เมื่อระดับหนึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะคงที่ เนื่องจากไม่ได้เพิ่มปริมาณของเอนไซม์