กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อน นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และยุทธศาสตร์กรมชลประทาน สายงานวิชาการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายเฉลิมเกียรติ คงวิเชียรวัฒน์ รองอธิบดีฝ่ายวิชาการ 4 มกราคม 2561
โครงสร้างสายงาน นายทองเปลว กองจันทร์ อธิบดีกรมชลประทาน นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รธร. / รธบ. นายเฉลิมเกียรติ คงวิเชียรวัฒน์ รธว. นายประพิศ จันทร์มารธร. / รธส. นายประดับ กลัดเข็มเพชรผส.บก. นายประทีป ภักดีรอดผส.สธ. นายพิเชษฐ์ ศุภฤกษ์ผส.อส. นายธนา สุวัฒฑน ผส.วพ. นายวีรวัฒน์ อังศุพานิชย์ ผอ.ทส. 7 December 2019
แผนผังการเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนางานชลประทาน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ ฯ น้ำ ยุทธศาสตร์ กษ. 20 ปี แผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 ยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ทิศทางการปฏิบัติงานของ “สายวิชาการ” เพื่อมุ่งสู่ผลสำเร็จของ “กรมชลประทาน” งานขับเคลื่อน นโยบาย การบูรณาการงาน ด้านต่างๆ การสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วม งานตามภารกิจ งานริเริ่มใหม่ 7 December 2019
เร่งขับเคลื่อนงานเตรียมความพร้อม สร้างนวัตกรรม และนำไปใช้ประโยชน์ งานตามภารกิจ สบก. สสธ. สอส. สวพ. ศทส. จัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ พร้อมดำเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดำเนินการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายของกรม ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศึกษา วิเคราะห์ และวางแผนการพัฒนาแหล่งน้ำและบรรเทาอุทกภัย วิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลโครงการชลประทาน บริหารโครงการเงินกู้ เงินช่วยเหลือ ความร่วมมือด้านการชลประทานกับต่างประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน สำรวจ และจัดทำแผนที่ ศึกษาความเหมาะสมด้านธรณีวิทยา และด้านปฐพี การออกแบบและคำนวณงานด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ให้คำปรึกษา กำกับดูแล กำหนดมาตรฐานงานออกแบบ วิจัย พัฒนา และเผยแพร่งานด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ทดสอบ และตรวจสอบคุณภาพวัสดุและอุปกรณ์ ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งผลงานวิจัย เร่งขับเคลื่อนงานเตรียมความพร้อม สร้างนวัตกรรม และนำไปใช้ประโยชน์ 7 December 2019
งานขับเคลื่อนนโยบาย นโยบายรัฐบาลและ กษ. “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน / ต่อ เติม แต่ง” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การบริหาร จัดการน้ำ งานพระราชดำริ ยางพารา Big Data การประยุกต์ Agri Map Smart Officers แผนงานสำคัญ งานเตรียมความพร้อม พัฒนาแหล่งน้ำ บรรเทาภัยจากน้ำ ขับเคลื่อนการเตรียมความพร้อมได้รวดเร็ว สนับสนุนการใช้ยางพาราสำหรับงานชลประทาน ข้อมูลกรมฯ ทุกด้านพร้อมใช้ประโยชน์ ประยุกต์ใช้เพื่อ วางโครงการ ออกแบบระบบ บุคลากรที่ เก่ง ดี มีความสุข เป้าหมายการดำเนินงาน กรมชลประทาน สำนัก/กอง สบก. สสธ. สอส. สวพ. สบก. สสธ. สอส. สวพ. สอส. ศทส. สบก. สอส. ทุกสำนัก/ศูนย์ สพญ. กพก. สพญ. กพก. สชป. กผง. กผง. สพญ. กพก. สชป. ทุกสำนัก/กอง สพญ. กพก. สบค. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภายใน ( สายงานวิชาการ+สายงานก่อสร้าง+สชป.) และภายนอกที่เกี่ยวข้อง (หน่วยงานจากกระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงคมนาคม) การบูรณาการ 7 December 2019
บรรจุในแผนปฏิบัติการดิจิทัล 5 ปี จัดทำ Data Center ด้านน้ำ งานริเริ่มใหม่ งานริเริ่มใหม่ นโยบาย “ยางพารา” คู่มือการทำผิวทางดินซีเมนต์ผสมยางพารา แอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ ความก้าวหน้า กรมอนุมัติหลักการด้านวิศวกรรม เมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 60 งานริเริ่มใหม่ งานวิจัย Block ปูพื้น ใช้ส่วนผสมจากยางพารา (ยางแผ่นรมควัน) ( ชป. + การยางแห่งประเทศไทย = งานวิจัย) Big data บรรจุในแผนปฏิบัติการดิจิทัล 5 ปี จัดทำ Data Center ด้านน้ำ เพื่อให้สามารถเรียกใช้ข้อมูล และ วิเคราะห์ข้อมูลของกรมชลประทาน ได้อย่างรวดเร็ว ทำแบบจำลอง : สำหรับงานศึกษาออกแบบ หัวงานอาคารชลประทานที่มีพลังงานสูง การเปลี่ยนแปลงทิศทางของลำน้ำเดิมตามธรรมชาติ ซึ่งไม่สามารถคำนวณพฤติกรรมของน้ำได้ โดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ แบ่งออกเป็น computer model : ใช้อธิบายต่อ ปชช. Physical model : หาคำตอบทางวิชาการ สร้างนวัตกรรมด้านการสำรวจ สร้างคนรองรับงานและเครื่องมือที่ทันสมัย หมุดหลักฐาน QR Code 7 December 2019
Big Data ข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบ ซึ่งมาจากแหล่งที่มาต่างๆ ยังไม่มีการคัดกรองจะมาสู่กระบวนการทำ Big Data นั้นจะมีข้อมูลเข้ามาเป็น Real Time ต้องมีการสังเคราะห์ข้อมูลให้มีความถูกต้องเพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจ ข้อมูลเหล่านี้จะมีทั้งแบบที่มีโครงสร้าง และแบบที่ไม่มีโครงสร้าง เมื่อมีการไหลเข้ามาของข้อมูล ย่อมจะต้องมีการทำ Big Data Analytics คือ กระบวนการวิเคราะห์เซ็ตข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อค้นหารูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูลเหล่านั้นที่ซ่อนอยู่ข้างใน หาสิ่งเชื่อมโยงที่เชื่อมข้อมูลเหล่านั้นเข้าไว้ด้วยกัน และข้อมูลอื่นๆที่เป็นประโยชน์ต่อการบริการจัดการเรื่องน้ำของกรมชลประทาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนี้สามารถนำไปสู่การทำแผนการบริหารจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ แต่ก่อนที่จะดำเนินการจัดทำ Big Data และ Big Data Analytics นั้นจะต้องมีการดูแลเรื่องเครือข่ายก่อนซึ่งพบว่ามีอุปกรณ์ด้าน Hardware ของกรมชลประทานมีอายุการใช้งานมากกว่า ๕ ปีเป็นจำนวนมาก จึงได้มีการดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อของบประมาณทดแทน ๒๐% ของเครื่องที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๕ ปี มีความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการดิจิทัล ๕ ปี
Big Data Data Integration & Big Data Management Platform Omni Channel Services Platform Information Driven Data Integration & Big Data Management Platform
การบูรณาการ งานด้านต่างๆ บูรณาการสายงาน ด้านการเตรียมความพร้อม จัดทำ master plan ตั้งแต่ ศึกษา-สำรวจ-ออกแบบ-ก่อสร้าง-ประเมินผล บูรณาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก ในทุกขั้นตอนการทำงาน ตย. แผนงาน area base เพื่อผ่านการกลั่นกรองของ กนช. งานต่างประเทศ : ดำเนินการในพื้นที่ลุ่มน้ำระหว่างประเทศ ความร่วมมือทางวิชาการ กรมชลประทาน ภาครัฐ+เอกชน+ประชาชน ต่างประเทศ 7 December 2019
ตัวอย่าง Master Plan กรมชลประทาน 7 December 2019
การพิจารณาแผนงาน/งบประมาณ ตัวอย่าง การบูรณาการ การพิจารณาแผนงาน/งบประมาณ ครม. กนช. สทนช. แผนงาน area base แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ บูรณาการร่วมกับหน่วยงานภายนอก ในทุกขั้นตอนการทำงาน โครงการที่มีความพร้อม (แบบก่อสร้าง/มวลชน/การใช้พื้นที่ป่า) สำนัก/กอง สชป. ภาครัฐ+เอกชน+ประชาชน สำนัก/กอง สชป. 7 December 2019
การสร้างเครือข่าย และการมีส่วนร่วม Royal Irrigation Department 7 December 2019 Royal Irrigation Department
Process of Cooperation project กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/ กรมชลประทาน (MOAC/RID) กระทรวงเกษตร/กรม จากประเทศต่างๆ (Parties) PHASE 1 Specifies project scope (MOU/MOI) MOU/AGREEMENT ต่างประเทศ Working Group (คณะทำงานร่วม) Non-projects Proposals Technical Visit Information Exchange Expert Exchange Project Implementation Project Proposals Implementation Pilot Projects Joint Study/ Research Training/ Workshop Grant/ TA Projects Loan/ G2G Projects PHASE 2 Specifies project proposal สำนัก/กอง สชป. 1-17 PHASE 3 Operation 7 December 2019
ตัวอย่างความร่วมมือด้านต่างประเทศ ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/ กรมชลประทาน (MOAC/RID) กระทรวงเกษตรและป่าไม้ภูฏาน MOU (ความร่วมมือด้านการเกษตร) Working Group (คณะทำงานร่วมด้านการเกษตร) การให้ความช่วยเหลือ ทางวิชาการ โครงการฝึกอบรมด้านวิศวกรรมชลประทาน คณะทำงานความร่วมมือ ไทย-ภูฏาน ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค 7 December 2019
ขอบคุณ
การพัฒนาแหล่งเก็บน้ำ ในปัจจุบันของ ภาคตะวันออก (224) อ่างฯ ห้วยโสมง (295) (97) (60) น้ำท่า 26,081 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนทดน้ำบางปะกง (40) เก็บกัก 2,337 ล้าน ลบ.ม (ร้อยละ 9 ของน้ำท่า) (325) อ่างฯ คลองพระสะทึง (65) (98) อยู่ใน 3 จังหวัด EEC 1,331 ล้าน ลบ.ม. (117) (21) อ่างฯ คลองประแกด อ่างฯ หนองค้อ (295) (41) (70) (163) (81) มีโครงการขนาดใหญ่ 7 แห่ง ในจำนวนนี้เป็นอ่างเก็บน้ำ 7 แห่ง อ่างฯ บ้านพลวง (80) ขนาด จำนวน (แห่ง) ความจุเก็บกัก (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่ชลประทาน (ไร่) ใหญ่ 9 1,176.00 1,696,040 กลาง 109 1,069.53 727,637 เล็ก 959 91.84 168,380 รวม 1,077 2,337.37 2,592,057 อ่างฯ ห้วยแร้ง พื้นที่เกษตร 13,642,000 ไร่ พื้นที่ชลประทาน 2,592,000 ไร่ (ร้อยละ 19 ของพื้นที่เพาะปลูก) (23) (36) อ่างฯ เขาระกำ
เป้าหมายและแนวทางดำเนินการเพื่อรองรับระยะ 10 ปี รองรับความต้องการน้ำระยะ 10 ปี ของน้ำอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม ที่สมดุลกับภาคเกษตรกรรม ป้องกันน้ำท่วมเมืองระยองและพื้นที่อุตสาหกรรม อ.พนัสนิคม อ.พานทอง จ.ชลบุรี ในรอบการเกิด 15 ปี 1. ปรับปรุงแหล่งน้ำเดิม 6 แห่ง ได้ความจุเพิ่ม 75 ล้าน ลบ.ม. 2. พัฒนาแหล่งน้ำใหม่ 4 แห่ง ความจุ 308.5 ล้าน ลบ.ม. 3. เชื่อมโยงแหล่งน้ำ และระบบผันน้ำ 3 แห่ง ได้น้ำ 120 ล้านลบ.ม./ปี 4. สูบน้ำกลับท้ายอ่าง 2 แห่ง ได้น้ำ 55 ล้าน ลบ.ม./ปี 5. ป้องกันน้ำท่วม เมืองระยอง และ พนัสนิคม/พานทอง จ.ชลบุรี กรมชลประทาน ผู้ใช้น้ำ 6. หาแหล่งน้ำสำรอง บริหารจัดการความต้องการน้ำ ลดการใช้น้ำ แหล่งน้ำเอกชน ผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล (แผน East Water บ่อดินเอกชน + สระทับมา 77 ล้าน ลบ.ม.) กนอ. East Water กปภ/ท้องถิ่น
แผนพัฒนาเพื่อรองรับระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก EEC ระยะ 10 ปี ศึกษา ออกแบบ เตรียมก่อสร้าง พิจารณา EIA ก่อสร้าง วงเงินรวม 16,037 ล้านบาท