ประเทศบรูไน จัดทำโดย เด็กชายชวกร มณีธรรม ม.2/6 เลขที่21.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายกลวัชร เชื้อ เกตุ
Advertisements

R.B.GARDEN Australia.
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
จัดทำโดย นาย รังสรรค์ บุญทัน คณะเกษตร
Association of Southeast Asian Nation
จัดทำโดย กัญจน์ธีรัตน์ ลาภิยะ
Sedona Arizona USA. Sedona Arizona USA 2001 Red Moutain Sedona USA 27/4/01.
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
Form Based Codes Presentation
ตอน..สายการบินของกลุ่มประเทศอาเซียน
ด.ช.ปรีชา แผ่นทอง ป6/3 ด.ช.จักรภัทร วรานสินธุ์
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา
ดอกไม้ประจำชาติกลุ่มอาเซียน
วัดศรีรัตนศาสดาราม หมู่เกาะ พี พี เกาะเต่า ดอยอินทนนท์
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
Unusual Architecture
เมนู บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Travel plan”. “Travel plan”
10 ประเทศอาเซียน.
... ขอเชิญ... ลูกหลานตระกูลลิ้มทั่วประเทศ เข้าร่วมสัมมนา ลูกหลานลิ้มสานสัมพันธ์ วันที่ 28 สิงหาคม 2559 เวลา – น “ พลังตระกูลลิ้ม (Power of.
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิกอาเซียน
องค์กรนวัตกรรม ROYAL VETERINARY COLLEGE UNIVERSITY OF LONDON
โครงการฝึกอบรม เรื่องการบริหารความเสี่ยงแก่หน่วยงานและ ผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบงาน ด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Coordinators) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
จำแนกประเภท ของสาร.
ความรู้รอบตัว......กับที่สุดในโลก
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
1 E 1 S E M N G Places & locations
การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
หลักสูตรเสริมสร้างความรู้ เรื่อง การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
บรูไนดารุสซาลาม Brunei Darussalam
 Singapore.
หัวข้อ ดนตรีไทย ในรายวิชา ๐๑๙๙๙๐๓๒ ไทยศึกษา
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
3. การอนุรักษ์ป่าไม้ กระทำได้โดย
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Infrastructure Databank (STDB)
D I G I T A L 4.0 Places ENG M.3 Sem. 1 Vocabulary Bank = ธนาคาร
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Calculus I (กลางภาค)
ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM1301รายวิชา ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
ธุรกิจออนไลน์ สิทธิเดช ลีมัคเดช Tel:
เรื่องเดิม 2. การประกาศเขตส่งเสริมเพื่อกิจการอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC
ประเทศบรูไน.
ประเทศสิงคโปร์.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
ประเทศสิงคโปร์.
สารบัญ ความเป็นมาของประเทศ 1 ภูมิศาสตร์ 2 วัฒนธรรม 3 ภาษา 4
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
อาเซียน.
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สำคัญของโลก
ระหว่างวันที่ พฤษภาคม 2562 ณ กรุงสตอกโฮล์ม และเมืองโกเธนเบอร์ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศบรูไน จัดทำโดย เด็กชายชวกร มณีธรรม ม.2/6 เลขที่21

สารบัญ หน้า หน้า เมืองหลวง 1 สัตว์ประจำชาติ 13 พื้นที่ 3 สกุลเงิน 15 เมืองหลวง 1 สัตว์ประจำชาติ 13 พื้นที่ 3 สกุลเงิน 15 การปกครอง 6 ศาสนา 17 ธงชาติ 7 ลักษณะประชากรบรูไน 19 อาหารประจำชาติ 9 สถานที่ท่องเที่ยว 21 ดอกไม้ประจำชาติ 11 ข้อมูลโดยรวมประเทศและเขตเศรษฐกิจบรูไนดารุสซาลาม 31

1 เมืองหลวง บันดาร์ เสรี เบกาวัน เมืองหลวงของประเทศบรูไน ก่อตั้งเมื่อคริสตศตวรรษที่ 8 (พุทธศตวรรษที่ 13) ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแม่น้ำบรูไน มีพื้นที่ 1,395 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.4 แสนคน โดยมีชาวบรูไนกับมาเลย์เป็นประชากรหลัก และมีชาวจีนอาศัยเป็นชนกลุ่มน้อย 2 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

พื้นที่ 3 4 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ พื้นที่ - รวม  -  รวม 5,770 ตร.กม. (165) 2,226 ตร.ไมล์  แหล่งน้ำ (%) 8.6 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

5 6 การเมืองการปกครอง กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ รัฐธรรมนูญปัจจุบันซึ่งแก้ไขล่าสุดเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 กำหนดให้สุลต่านทรงเป็นอธิปัตย์ คือเป็นทั้งประมุข นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นชาวบรูไนเชื้อสายมลายูโดยกำเนิด และจะต้องเป็นมุสลิมนิกายซุนนี่ย์ นอกจากนี้ บรูไนไม่มีสภาที่ได้รับเลือกจากประชาชน นโยบายหลักของบรูไน ได้แก่การสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ และดำรงความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้ บรูไนมีที่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมีอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศมุสลิมขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิงคโปร์ เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก และมีอาณาเขตติดกับประเทศมุสลิมขนาดใหญ่ นับจากการพยายามยึดอำนาจเมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศกฎอัยการศึกส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาทพรรคการเมืองได้ถูกจำกัดอย่างมาก จนปัจจุบันพรรคการเมือง ได้แก่ และ ไม่มีบทบาทมากนัก เนื่องจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ กฎหมายความมั่นคงภายในประเทศ (ห้ามการชุมนุมทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองได้ ตลอดจนห้ามข้าราชการ (ซึ่งมีเป็นจำนวนกว่าครึ่งของประชากรบรูไนทั้งหมด) เป็นสมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้ รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจำเป็น เนื่องจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอความช่วยเหลือจากข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่บรูไนประกาศเอกราช 6 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

ธงชาติ 7 ตราแผ่นดิน 8 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

อาหารประจำชาติ 9 10 มีลักษณะคล้ายกับอาหารของประเทศเพื่อนบ้านได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลเพิ่มเติมจากอินเดีย จีน ไทย และญี่ปุ่น ปลาและข้าวเป็นอาหารหลัก เนื้อวัวรับประทานน้อยเพราะมีราคาแพง เนื่องจากอิทธิพลของศาสนาอิสลาม อาหารที่รับประทานจึงเป็นอาหารฮาลาล หลีกเลี่ยงเนื้อหมู และห้ามดื่มแอลกอฮอล์ในบรูไนอาหารบรูไนมักจะมีรสเผ็ดและปกติกินกับข้าวหรือก๋วยเตี๋ยว อาหารที่เป็นที่นิยมได้แก่ เรินดังเนื้อ นาซีเลอมะก์ และปูเตอรีนานัซ ของหวานที่นิยมในประเทศบรูไนคืออัมบูยัต ทำจากสาคูห่อด้วยไม้ไผ่และจิ้มซอสผลไม้รสเปรี้ยว เครื่องดื่มทั่วไป ได้แก่ น้ำผลไม้ ชาและกาแฟ อาหารจากจีนและอินเดียมีอยู่ในบรูไนมากเช่นกัน กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

ดอกไม้ประจำชาติ 11 ดอกไม้ประจำชาติบรูไน ก็คือ ดอกซิมปอร์ (Simpor) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ดอกส้านชะวา (Dillenia) ดอกไม้ประจำท้องถิ่นบรูไน ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลือง หากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่ม พบเห็นได้ตามแม่น้ำทั่วไปของบรูไน มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผล หากใครแวะไปเยือนบรูไน จะพบเห็นได้จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรูไน และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย 12 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

13 สัตว์ประจำชาติ เสือโคร่ง สัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่นอกจากจะได้รับการเลือกให้เป็นสัตว์ประจำชาติของพม่าแล้ว ยังถูกเลือกให้เป็นสัตว์ประจำชาติบรูไนอีกด้วย โดยลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศบรูไนซึ่งมีภูเขาและป่าไม้อยู่เป็นจำนวนมาก มีประชากรไม่หน่าแน่น สัตว์ป่าจึงไม่ถูกรบกวน จึงสามารถพบเสือโคร่งสายพันธุ์เอเชียจำนวนมาก และได้ถูกเลือกให้เป็นสัตว์ประจำชาติของประเทศบรูไนในที่สุด 14 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

15 สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน ถือกำเนิดใน ค.ศ. 1967 มีการแบ่งหน่วยย่อยเป็น 1 ดอลลาร์ เท่ากับ 100 เซนต์ อัตราแลกเปลื่ยนเท่ากับดอลลาร์สิงคโปร์ บรูไนกับสิงคโปร์ลงนามตกลงอัตราค่าเงินในปี ค.ศ. 1967 ในอดีตบรูไนใช้หอยเบี้ยในการแลกเปลี่ยนสินค้าแทนเงิน ต่อมาผลิตเหรียญดีบุกเป็นเงินใน ค.ศ. 1868 พัฒนาขึ้นเป็นเหรียญ 1 เซนต์ในอีก 20 ปีต่อมา เหรียญนั้นมีค่า 1 ส่วน 100 ของ 1 ดอลลาร์ช่องแคบ ในวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1967 บรูไนออกใช้ธนบัตรชนิดราคา 1, 5, 10, 50, 100 ดอลลาร์; 500 และ 1,000 ดอลลาร์ใน ค.ศ. 1979 และ 10,000 ดอลลาร์ใน ค.ศ. 1989 ธนบัตรบรูไนเขียนบอกมูลค่าเป็นภาษาอังกฤษและภาษามลายู 16 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

17 ศาสนา ส่วนใหญ่ชาวบรูไนนับศาสนาอิสลามนิกายซุนี่ 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายาน 13%ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดู ความเชื่อพื้นเมืองและอื่นๆตามมา 18 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

ลักษณะประชากรบรูไน ประเทศบรูไนมีประชากร 415,717 คน อัตราการเพิ่มของประชากรร้อยละ 3.5 ต่อปี ชนพื้นเมืองในประเทศบรูไน 7 ชนเผ่า ประกอบด้วย เผ่ามลายูบรูไน ดูซุน เบอไลต์ ตูตง บีซายา มูรุต และเกอดายัน    แต่เพื่อความเป็นเอกภาพในด้านการเมืองปกครองโดยภาพรวมทั้ง 7 ชนเผ่า ใช้ชื่อเรียกว่า มลายู หรือ มาเลย์ สำหรับประชากรภายในประเทศบรูไนหลากหลายเชื้อชาติ แบ่งออกเป็น เชื้อชาติมาเลย์ 250,967 คน (ร้อยละ 67) จีน 56,187 คน (ร้อยละ 15) และอื่นๆ 67,424 คน (ร้อยละ 18) 19 20 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

พิพิธภัณฑ์รอยัลเรกกาเลีย (Royal Regalia Museum) 21 สถานที่ท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์รอยัลเรกกาเลีย (Royal Regalia Museum) 22 กลับไปสารบัญ

3. หมู่บ้านกัมปงไอเยอร์ (Kampong Ayer) 23 2. มัสยิดทองคำ (Jame Ar' Hassanil Bolkiah Mosque) 3. หมู่บ้านกัมปงไอเยอร์ (Kampong Ayer) 24 กลับไปสารบัญ

25 4. พระราชวัง Istana Nurul Iman (The Istana Nurul Iman palace) 5. สวนสนุก Jerudong (Jerudong Park) 26 กลับไปสารบัญ

7. อุทยานแห่งชาติ Temburong (Temburong National Park) 27 6. ชายหาดอันสวยงาม 7. อุทยานแห่งชาติ Temburong (Temburong National Park) 28 กลับไปสารบัญ

29 30 8. อนุสาวรีย์น้ำมันหนึ่งล้านบาร์เรล (Billionth Barrel Monument) 9. พิพิธภัณฑ์บรูไน (Brunei Museum) 30 กลับไปสารบัญ

31 32 ประชากร 437,425 คน ข้อมูลโดยรวมประเทศและเขตเศรษฐกิจ บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) ที่ตั้ง ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเส้นศูนย์สูตร) พื้นที่ 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ร้อยละ 70 เป็นป่าไม้เขตร้อน เมืองหลวง กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประชากร 437,425 คน ภาษาราชการ ภาษามาเลย์ (Malay หรือ Bahasa Melayu) ประมุข สมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ สมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 29 ผู้นำรัฐบาล 32 กลับไปสารบัญ

33 34 วันชาติ 23 กุมภาพันธ์ วันสถาปนาความสัมพันธ์ ทางการทูตกับไทย รัฐมนตรีต่างประเทศ คนที่ 1: สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไนฯ  คนที่ 2: เปฮิน ดาโต๊ะ ลิม จ็อก เซง (Pehin Dato Lim Jock Seng) ระบอบการปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็น องค์ประมุขผู้นำรัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เขตการปกครอง แบ่งเป็น 4 เขต คือ เขต Brunei-Muara, เขต Belait, เขต Temburong และเขต Tutong วันชาติ 23 กุมภาพันธ์ วันสถาปนาความสัมพันธ์ ทางการทูตกับไทย 1 มกราคม 2527 หน่วยเงินตรา ดอลลาร์บรูไน (1 ดอลลาร์บรูไน / 24.93 บาท ปี 2559) ผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ 11 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2559) 34 กลับไปสารบัญ กลับไปสารบัญ

35 รายได้ประชาชาติต่อหัว 30,993 ดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2559) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 2.7 (ปี 2559) สินค้านำเข้าสำคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตร (อาทิ ข้าวและผลไม้) สินค้าส่งออกสำคัญ น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ 35 กลับไปสารบัญ