การวางแผนงานสาธารณสุข LDC 6 6 กุมภาพันธ์ 2560 นายแพทย์วิชัย สติมัย นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
การบริหารงานสาธารณสุข P = Planning O = Organizing S = Staffing D = Directing Co = Coordinating R = Reporting B =Budgeting จาก Gulick and Urwick ใน Management in Public Administration
การวางแผนงานสาธารณสุข Planning มี หลักคิดที่ง่ายต่อการ นำไปใช้ อันประกอบด้วย S = Situation Analysis P = Problem Identification O = Objective setting M = Methodology E = Evaluation จาก อ. สุรชาติ ณ หนองคาย
Situation Analysis ต้องเริ่มจากมีข้อมูล (Data) - เชิงปริมาณ (Quantitative) : Primary, Secondary - เชิงคุณภาพ (Qualitative) : Focus Group Discussion, In depth Interview, Observation, etc. อย่าลืม Triangulation .
วิเคราะห์ (analytic) : association, correlation, etc ข้อมูลที่ได้มา บรรยายเชิงพรรณา (descriptive) : number, percent, mean/median/mode, range, etc. วิเคราะห์ (analytic) : association, correlation, etc
Problem Identification Problem = (Expect- Actual) Concern การหาสาเหตุของปัญหา อาจใช้, Root cause problem analysis, Problem tree, etc.
หากมีปัญหาหลายอย่างต้องจัดลำดับ ปัญหา(Priority Setting) โดยดูจาก: Magnitude of problem Severity Feasibility (ทั้งเชิงเทคนิค และการ จัดการ) People Participation
ต้อง SMART. S = Specific M =measurable A = Achievable R = Relevant Objective setting ต้อง SMART. S = Specific M =measurable A = Achievable R = Relevant T = Time-bound
Methodology ตามความจำเพาะของปัญหา
Evaluation แบ่งเป็น ประเมินก่อน ระหว่าง หลัง โครงการ หรือ แบ่ง เป็น Formative, Summative หรือ ใช้ CIPP model ของ Stufflebeam
OUTPUT 1 OUTCOME 1 OUTPUT 2 IMPACT OUTCOME 2 OUTPUT 3 OUTCOME 3 INPUT 1 OUTCOME 1 OUTPUT 2 INPUT 2 IMPACT OUTCOME 2 OUTPUT 3 INPUT 3 OUTCOME 3
Verification of Indicator Logical Framework indicator Verification of Indicator Assumption Goal Purpose output activities