โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ (ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานพยาบาลปฐมภูมิ) วันที่ 7 - 9 สิงหาคม 2562
จ.ต.ธนพัฒน์ แซ่เตียว เสมียนกองเวชสารเทศ กรมแพทย์ทหารเรือ ปฏิบัติหน้าที่แผนกปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประวัติมาจากพลทหาร ประวัติการทำโปรแกรมครอบ phis เดิม เราเข้าใจการทำงานของหน่วย และเคยปฏิบัติงานมาแล้วเป็นเวลา 3 ปีใน ศฝท แต่ยังไม่เข้าใจหน่วยงานอื่น ๆ อยากพัฒนาปรับปรุงระบบงานให้ดียิ่งขึ้นจึงตั้งใจที่จะมาพัฒนาโปแกรม
โปรแกรมเฝ้าระวังการระบาดในพื้นที่ ศฝท.
โปรแกรมเฝ้าระวังการระบาดในพื้นที่ ศฝท.
พัฒนาเครื่องมือตรวจวัดอุณหภูมิและเฝ้าระวังโรคลมร้อน หลังจากนั้นจึงได้สมัครรับราชการต่อมาปฏิบัติงานที่กรมแพทย์ทหารเรือ
เครื่องบันทึกเวชระเบียนในสถานการณ์วิกฤต
ระบบสมัครสอบแข่งขันจัดอันดับเพื่อเลื่อนฐานะประจำปี
ระบบสมัครสอบแข่งขันจัดอันดับเพื่อเลื่อนฐานะประจำปี
แบบประเมินสมรรถภาพทางจิต
ปรับปรุงระบบรายงานการตรวจสุขภาพประจำปีรายบุคคล
ระบบยืนยันตัวตนกำลังพล กรมแพทย์ทหารเรือ
ภาพรวมระบบการทำงานเดิม - เทคโนโลยีที่ใช้ในสมัยนั้น
ข้อจำกัดระบบการทำงาน (เดิม) เทคโนโลยี Flash Player ไม่รองรับการทำงานในปัจจุบัน ความสะดวก รวดเร็ว ในการทำงาน ข้อมูลมีความซ้ำซ้อนและมีโอกาสในการผิดพลาดบ่อย ข้อมูลที่จัดเก็บไม่เพียงพอต่อการนำข้อมูลไปใช้ในปัจจุบัน เช่น การเบิกผ่านโปรแกรม E-Claim ไม่มีระบบผู้ป่วยใน
วิเคราะห์การแก้ปัญหาโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ วิธีที่ 1) พัฒนาโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิใหม่ทั้งหมดโดย ยึดตามมาตรฐานข้อมูลใหม่ แต่ข้อมูลเดิมจะใช้งานไม่ได้เลย วิธีที่ 2) พัฒนาโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิใหม่ทั้งหมดโดย พยายามรักษาข้อมูลเดิมที่มีอยู่ในระบบให้ได้มากที่สุด วิธีที่ 3) พัฒนาโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิใหม่ ตามความต้องการของผู้ใช้งานเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
แผนการดำเนินการพัฒนาระบบงาน ระยะที่ ๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พฤษภาคม - พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ระยะที่ ๒ พัฒนาระบบสารสนเทศ มิถุนายน - ธันวาคม ๒๕๖๒ ระยะที่ ๓ เชื่อมโยงระบบสารสนเทศ มิถุนายน - ธันวาคม ๒๕๖๓
ระยะที่ ๑ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ปรับปรุงระบบการทำงานของเครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ (ความเร็ว) ประสานการทำงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เก็บรวบรวมความต้องการผู้ใช้งาน (ทำความเข้าใจ) ผสานการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางส่วน การสร้างบ้านจะต้องอยู่เป็นเสาที่แข็งแรง ยกตัวอย่าง ประเด็นที่เกี่ยวข้อง ว่าโครงสร้างของเราทั้งหมดคือบ้าน
เก็บรวบรวมความต้องการผู้ใช้งาน ผู้พัฒนาเข้าใจกระบวนการทำงานได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ผู้พัฒนาจะรับทราบปัญหาและผลกระทบในการทำงานของผู้ใช้งาน
ระยะที่ ๒ การพัฒนาระบบสารสนเทศ พัฒนาระบบสารสนเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดตามความต้องการของผู้ใช้งานที่เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นหลัก เพิ่มระบบช่วยเหลือให้มากขึ้นสำหรับผู้ปฏิบัติงาน เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลจาก ทร. การเชื่อมโยงระบบตรวจสอบสิทธิ เป็นต้น วิเคราะห์และออกแบบระบบงานเพื่อเตรียมเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยปฐมภูมิและระบบของโรงพยาบาลหลัก การสร้างห้องแต่ละห้อง
กระแสข้อมูล (Data Flow) หลังจากนี้ผมจะสรุปการทำงานของโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิให้หน่วยเข้าใจว่าผมเข้าใจอย่างไร หากมีข้อสงสัยให้ดำเนินการซักถามได้เลย สรุปให้หน่วยเข้าใจว่าเราเข้าใจการทำงานของโปรแกรมอย่างไรบ้างและจะดำเนินการยังไงต่อไป
มาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล (4.1) โดยใช้งานกับ E-Claim กระแสข้อมูล (Data Flow) มาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล (4.1) โดยใช้งานกับ E-Claim หลังจากนี้ผมจะสรุปการทำงานของโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิให้หน่วยเข้าใจว่าผมเข้าใจอย่างไร หากมีข้อสงสัยให้ดำเนินการซักถามได้เลย สรุปให้หน่วยเข้าใจว่าเราเข้าใจการทำงานของโปรแกรมอย่างไรบ้างและจะดำเนินการยังไงต่อไป
กระแสข้อมูล (Data Flow) หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. มาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล (4.1) โดยใช้งานกับ E-Claim หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ.
กระแสข้อมูล (Data Flow) มาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล (4.1) โดยใช้งานกับ E-Claim หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ. กสส.พร.
กระแสข้อมูล (Data Flow) มาตรฐานในการนำเข้าข้อมูล (4.1) โดยใช้งานกับ E-Claim หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. ผู้ป่วยนอก กสส.พร. ผู้ป่วยใน หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ.
แผนกกรรมวิธีข้อมูลและสถิติทางการแพทย์ กวส.พร. กระแสข้อมูล (Data Flow) หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ. กสส.พร. แผนกกรรมวิธีข้อมูลและสถิติทางการแพทย์ กวส.พร.
แผนกกรรมวิธีข้อมูลและสถิติทางการแพทย์ กวส.พร. กระแสข้อมูล (Data Flow) ไม่มีผู้ป่วยใน หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ. กสส.พร. ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน แผนกกรรมวิธีข้อมูลและสถิติทางการแพทย์ กวส.พร.
กระแสข้อมูล (Data Flow) ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล หน่วยปฐมภูมิ ระดับ รพ. หน่วยปฐมภูมิ ที่ไม่ใช่ระดับ รพ. กสส.พร. แผนกกรรมวิธีข้อมูลและสถิติทางการแพทย์ กวส.พร. ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลหลัก ข้อมูลส่งต่อ/นัดรักษา
ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กระแสข้อมูล (Data Flow) เส้นทางการเชื่อมต่อ ผู้ใช้งาน ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ การสร้างห้องแต่ละห้อง
ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กระแสข้อมูล (Data Flow) เส้นทางการเชื่อมต่อ ผู้ใช้งาน ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาล การสร้างห้องแต่ละห้อง
กระแสข้อมูล (Data Flow) เส้นทางการเชื่อมต่อ ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ ปริมาณผู้ใช้งานโปรแกรม การสร้างห้องแต่ละห้อง
ปริมาณผู้ใช้งานโปรแกรม กระแสข้อมูล (Data Flow) เส้นทางการเชื่อมต่อ พื้นที่กรุงเทพฯ ปริมาณผู้ใช้งานโปรแกรม พื้นที่สัตหีบ การสร้างห้องแต่ละห้อง
กระแสข้อมูล (Data Flow) เส้นทางการเชื่อมต่อ พื้นที่กรุงเทพฯ ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ ปริมาณผู้ใช้งานโปรแกรม พื้นที่สัตหีบ การสร้างห้องแต่ละห้อง
กระแสข้อมูล (Data Flow) พื้นที่กรุงเทพฯ เส้นทางการเชื่อมต่อ พื้นที่สัตหีบ ฐานข้อมูลโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ ปริมาณผู้ใช้งานโปรแกรม การสร้างห้องแต่ละห้อง
กระแสข้อมูล (Data Flow) ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล การสร้างห้องแต่ละห้อง
โปรแกรมปฐมภูมิเป็นส่วนหนึ่งของการเชื่อมโยงข้อมูล ระบบการเชื่อมโยงฐานข้อมูลส่วนกลาง กรมแพทย์ทหารเรือ โรงพยาบาลหลัก โรงพยาบาลสนามทางเรือ หลังจากนี้ผมจะสรุปการทำงานของโปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิให้หน่วยเข้าใจว่าผมเข้าใจอย่างไร หากมีข้อสงสัยให้ดำเนินการซักถามได้เลย สรุปให้หน่วยเข้าใจว่าเราเข้าใจการทำงานของโปรแกรมอย่างไรบ้างและจะดำเนินการยังไงต่อไป โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ