การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
Advertisements

บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
“แสดงความมุ่งมั่น แบ่งปันการเรียนรู้”
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
Session 4 “มีเป้าหมาย แล้วต้องเดิน ต้องบิน”
“ตั้งโจทย์ตั้งเป้า เข้าถึงหลักชัย” คิดเชิงบุก (Proactive Thinking)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
Information Technology For Management 6th Edition
“Knowledge Management in Health Care”
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
Corporate Marketing Headquarters (CMH)
Effecting Successful change management initiatives
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
พิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
Mini KM.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
Learning Organization & Knowledge Management
CoP คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล วราพร แสงสมพร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การจัดการความรู้ในองค์กร Knowledge Management in Organization รศ. ดร. ลำปาง แม่นมาตย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
Knowledge Audit and Analysis
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
การจัดการองค์ความรู้
Road to the Future - Future is Now
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
สุขสันต์วันครบรอบคริสตจักร 19 ปี คริสตจักรเรมากรุงเทพฯ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
Generic View of Process
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
(Knowledge Management)
การจัดการความรู้ตามแนวทาง PMQA
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
คำเทศนาชุด: ท่านมีของประทาน
Learning Organization (Best Practices)
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
The Association of Thai Professionals in European Region
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
Why’s KM ?.
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
กระบวนการทบทวนสถานะความรู้ กรมอนามัย
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) จาก หลักการ สู่ การปฏิบัติ โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI) www.kmi.or.th

ชนิดของความรู้ วิทยาการ ภูมิปัญญา เป็น“หลักวิชา” เป็น “ประสบการณ์” วิทยาการ ภูมิปัญญา เป็น“หลักวิชา” เป็น “ประสบการณ์” มาจากการเรียน “ปริยัติ” ได้จากการ “ปฏิบัติ” อยู่ในสื่อต่างๆ อยู่ในหัวคน เป็นความรู้ที่ “บันทึกได้” เป็นความรู้ที่ “ฝังลึก” คือเห็นได้ค่อนข้างชัด ซ่อนเร้น Explicit Knowledge Tacit Knowledge

ความรู้ หมุนเวียนเคลื่อนที่ได้ ตามกระบวนการ SECI หรือ Knowledge Spiral ของ Nonaka Tacit Socialization Explicit Externalization Internalization Explicit Combination การจัดการความรู้ คือการสร้าง “เกลียวความรู้” ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา / พัฒนางาน

บันได 5 ขั้นสู่การสร้างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ (KM) 5. แทรกซึม(Institutionalisation) 4. ขยายผล (Expansion) 3. ตั้งต้น เริ่มดำเนินการ Pilot Projects 2. ตั้งมั่น สร้าง Commitment, วาง Strategy 1. ตั้งหลัก ปรับหลักคิด, ระบุหลักชัย, กำหนดหลักการ

ขั้นตอนที่ 1.1 ปรับ “หลักคิด” กระบวนทัศน์ KM กระบวนทัศน์เดิม มองการบริหารแบบ “จัดการ” มองการบริหารแบบ “บูรณาการ” เห็นความรู้แนบแน่น.... จัดแจง + สั่งการ - อยู่กับคน ใช้ Command & Control - อยู่กับงาน มองคนในฐานะ “ผู้ปฏิบัติ” เน้นการ “มีส่วนร่วม” เห็นความรู้อยู่ “ลอยๆ” ใช้ความรู้ + ความรู้สึก - แยกจากคน - ไม่อิงบริบท เน้น Empower + Encourage

วัตถุประสงค์ (Objective) ขั้นตอนที่ 1.2 ระบุ “หลักชัย” ทิศทาง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ (Objective) พันธกิจ (Mission) วิสัยทัศน์ (Vision) “ทิศทาง เป้าหมาย ทำให้ใจจดจ่อ ใจที่จดจ่อ (Focus) ก่อให้เกิดพลัง” - ประพนธ์ ผาสุขยืด

หลักการที่สำคัญ - KM จะเริ่มได้ ต้องมี... ขั้นตอนที่ 1.3 กำหนด “หลักการ” หลักการที่สำคัญ - KM จะเริ่มได้ ต้องมี... เวลา (Time) เวที/พื้นที่ (Space) - Physical Space (F2F) - Virtual Space (ICT) ไมตรีจิต (Relationship) - Love, Care, Share, Commitment ผู้ทำหน้าที่ “คุณอำนวย” (Facilitators)

การจัดการความรู้ = การจัดการ “เวลา” เวลาสำหรับ “ประยุกต์/ใช้” ความรู้ (Knowledge Application, Knowledge Usage) เวลาสำหรับ “สร้าง/บ่มเพาะ” ความรู้ (Knowledge Creation, Knowledge Cultivation) (Knowledge Distribution, Knowledge Sharing) เวลาสำหรับ “กระจาย/แบ่งปัน” ความรู้

การจัดการความรู้ = การจัดการ “พื้นที่” Physical Space vs. Virtual Space “Ba” – Shared Space (Nonaka) “CoPs” – Community of Practices

คุณลักษณะที่ดีของ CoPs เป็นการ “ชุมนุม” ของคนที่สนใจเรื่องเดียวกัน (งาน, ปัญหา) เป็นกลุ่มคนที่มีพื้นฐาน และประสบการณ์หลากหลาย เป็นการพบกันตามความสมัครใจ ไม่ใช่การบังคับ เป็นเวทีที่ที่ทำให้คนมีความรู้สึกดีๆ อิสระและปลอดภัย เป็นบรรยากาศแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจ ช่วยเหลือ เกื้อกูล

มุมมองต่อการใช้ “ICT” ICT ไม่ใช่ “เป้าหมาย” ของ KM ICT เป็น “เครื่องมือ” KM ที่ทรงพลัง ICT ต้องทำให้คนยิ่ง “ใกล้ชิด” กัน การลงทุนใน ICT vs การลงทุนในคน

การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ Care & Share / Give & Grow Share & Shine

ขั้นตอนที่ 3 “ตั้งต้น” มีหลักแล้ว มีความมุ่งมั่นแล้วต้องออกเดิน ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเกิดขึ้นได้ ด้วยก้าวแรก ความปรารถนา ความต้องการ (ฉันทะ) ความพยายาม ความเพียร (วิริยะ) ความคิดจดจ่อ (จิตตะ) ปัญญาไตร่ตรอง (วิมังสา) “Think Big, Act Small, Begin Now.” -Rockefeller

โครงการนำร่อง (Pilot Project) บททดสอบความพร้อม โครงการนำร่อง (Pilot Project) มี “โจทย์” ที่ชัด และ Align กับ Vision มี “Core Team” ที่หลากหลาย และสนใจเรื่องนี้ มี “Key Content” มากพอที่จะเริ่มต่อไปได้ มี “เวที” ให้เริ่มทั้งแบบ F2F และ Virtual มี “คุณอำนวย” ช่วยหมุน “เกลียวความรู้”

บทบาท ของ Facilitators วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้าง ไม่ dominate ใส่ใจในกระบวนการไม่ใช่เนื้อหา (content) คิดเสมอว่าคนในกลุ่มคือผู้รู้ (expert) ช่วยส่งเสริม แต่ไม่ใช่ไปทำเอง (“คนเชียร์แขก”)

“There ’s never been a breakthrough that has occurred by writing a memo. Breakthroughs occur when two or more people get together, get inspired, have fun, think the unthinkable.” -Lars Kolind CEO of Oticon

การจัดการความรู้ เปิดประตูไปสู่ “ความหมายใหม่” ความรู้ ที่เป็นการบูรณาการระหว่าง Explicit & Tacit ระบบ & คน เหตุผล & ความรู้สึก สมอง & ใจ การจัดการ ที่สร้างสมดุลระหว่าง Efficiency & Creativity Discipline & Chaos ศาสตร์ & ศิลป์

เราจะเริ่มต้นที่ตรงไหน เพื่อให้สามารถเริ่มได้ทันที วิถีคิด วิถีชีวิต เราจะทำอย่างไร ให้ KM เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต (การทำงาน) เราจะเริ่มต้นที่ตรงไหน เพื่อให้สามารถเริ่มได้ทันที