โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Advertisements

สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
Internal audit and corporate governance as in the knowledge-driven enterprise ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรอนงค์ บุษราตระกูล รองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตร.
Lecture 1: Risk Management: Introduction
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
COSO Frameworks and Control Self-Assessment
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
Economy Update on Energy Efficiency Activities
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
ความรู้เบื้องต้นด้านสินเชื่อ
โครงการฝึกอบรม เรื่องการบริหารความเสี่ยงแก่หน่วยงานและ ผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบงาน ด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Coordinators) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
การเงินระหว่างประเทศ
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
Risk Management in Siam University
พระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
ความสำคัญของ Internal Audit ต่อการดำเนินธุรกิจ
Preventive Internal Control Training And Workshop
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน
บทบาทของการบัญชีต้นทุนในการบริหารธุรกิจ
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
บทที่ 5 เงื่อนไขเสมอภาคระหว่างประเทศ (International Parity Condition)
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
Student activity To develop in to the world community
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
ชื่อ –สกุล นายอนุพันธ์ วุธประดิษฐ์ ตำแหน่ง ผช.หัวหน้าหน่วย (พพธ.7)
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
The Association of Thai Professionals in European Region
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
การเงินระหว่างประเทศ
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร ดร. พรมนัส สิริธรังศรี Dr.pornmanus@gmail.com

การบริหารการเงินระหว่างประเทศ การบริหารความเสี่ยง ตราสารอนุพันธ์ การลงทุน

การบริหารการเงิน ระหว่างประเทศ

Discussion Toy R Us ล้มละลาย Alibaba ย้ายฐานการลงทุนจากไทยไปมาเลเซีย TISCO เตือนUS Bond Yield ปรับสูงเกิน 2.5% จะกระทบตลาดหุ้นทั่วโลก Toy R Us ล้มละลาย Alibaba ย้ายฐานการลงทุนจากไทยไปมาเลเซีย Bitcoin and Block chain จะเป็นเงินสกุลใหม่ Fintech and Digitals money

บทนำ: ประเด็นสำคัญของการบริหารการเงินระหว่างประเทศ แนวโน้มสำคัญของการบริหารการเงินระหว่างประเทศ โอกาสที่ดีของธุรกิจระหว่างประเทศ

แนวโน้มสำคัญของการบริหารการเงินระหว่างประเทศ ในช่วงระยะเวลากว่า 30 ปีที่ผ่านมา ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายประการที่มีผลต่อโครงสร้างเศรษฐกิจและการเงินของโลก และส่งผลให้การดำเนินธุรกิจต่างประเทศมีการปรับตัวอย่างหนัก ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างดังกล่าวได้มีทั้งผลบบวกและลบต่อธุรกิจระหว่างประเทศ ก่อให้เกิดทิศทางสำคัญในโลกธุรกิจปัจจุบัน สรุปได้ 3 ประการ 1.1 บริษัทข้ามชาติมีบทบาทและความสำคัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก 1.2 ระบบปริวรรตเงินตราของโลกเปลี่ยนจากระบบคงที่ไปเป็นแบบลอยตัวซึ่งทำให้ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสูงขึ้น 1.3 ตลาดเงินและตลาดทุนในภูมิภาคต่างๆมีการรวมตัวกันมากขึ้น

2) โอกาสที่ดีของธุรกิจระหว่างประเทศ แนวโน้มบางประการที่ได้กล่าวถึงข้างต้นอาจเป็นปัจจัยลบต่อการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตามธุรกิจระหว่างประเทศสามารถสร้างโอกาสที่ดีให้เกิดขึ้นแก่กิจกรรมของตนเองดังนี้ 2.1 ธุรกิจข้ามชาติเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.1 ประโยชน์จากความไม่สมบูรณ์ของตลาด ก. การประหยัดต่อขนาด ข. ความเชี่ยวชาญในการจัดการและทักษะทางเทคนิค ค. ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ ง. ความแข็งแกร่งทางการเงิน

2) โอกาสที่ดีของธุรกิจระหว่างประเทศ 2.1 ธุรกิจข้ามชาติเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.2 ประโยชน์จากการกระจายความเสี่ยง ก. รายได้ ข. กระแสเงินสด ค. ความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ง. อำนาจต่อรองของบริษัทเพิ่มขึ้น

2) โอกาสที่ดีของธุรกิจระหว่างประเทศ 2.2 บริษัทข้ามชาติสามารถหาผลประโยชน์จากความผันผวนและการไม่อยู่ในจุดดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2.3 การเปิดเสรีทางการเงินทำให้ต้นทุนของเงินทุน ต่ำลง

บทที่ 1: ระบบการเงินระหว่างประเทศ การจัดกลุ่มระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศในปัจจุบัน วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ วิกฤตการณ์ซับไพร์มของประเทศสหรัฐอเมริกา บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 📌วัตถุประสงค์ บทนี้ อธิบายความหมายของระบบเงินตราระหว่างประเทศและประวัติความเป็นมาของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ตั้งแต่ประเทศอังกฤษใช้ระบบมาตรฐานทองคำ จนถึงระบบปริวรรตเงินตราแบบลอยตัวในปัจจุบัน จากนั้นกล่าวถึงการรวมกลุ่มของภูมิภาคยุโรปเพื่อจัดตั้งสหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป และกำหนดเป้าหมายการใช้เงินตราสกุลเดียวกัน ปิดท้ายด้วยวิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ วิวัฒนาการ การสร้าง ระบบการเงินระหว่างประเทศ เมื่อการค้าพัฒนาไปสู่การค้าขายระหว่างประเทศ ที่ต้องมีการตกลงเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การโอนอำนาจซี้อ จึงต้องสร้าง “ระบบการเงินระหว่างประเทศ” (International Monetary System) เพื่อให้สามารถคำนวนหาอัตราแลกเปลี่ยนฯและสามารถอำนวยความสะดวกแก่การค้าและการเคลื่อนย้ายเงินทุน ตลอดจนเอื้ออำนวยต่อการปรับตัวของดุลการชำระเงินของประเทศ นอกจากนี้ ยังหมายถึงเครื่องมือทางการเงิน สถาบันการเงินและกฏระเบียบที่จะสามารถเชื่อมโยงระหว่างตลาดภายในประเทศ กับตลาดเงิน และตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศของโลกได้ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ วิวัฒนาการ การสร้าง ระบบการเงินระหว่างประเทศ ตลอดช่วงระยะเวลาต่างๆ 1.1 ระบบมาตรฐานทองคำ ค.ศ.1876-1913 (Rule of Game) 1.2 ช่วงระหว่างสงครามโลก ค.ศ.1914-1944 (The Interwar Years) Great Depression 1.3 ระบบปริวรรตเงินตราแบบคงที่ (Fixed Exchange Rates) ค.ศ.1945-1973 1.3.1 ข้อตกลงเบรคตัน วูดส์ (Dollar-Based System) 1.3.2 วิกฤตการณ์ปี ค.ศ.1971 (Smithsonian Agreement) 1.3.3 การจัดสินใจใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศแบบลอยตัว ค.ศ.1973 บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ (ต่อ) 1.4 ระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศหลัง ค.ศ.1973 1.4.1 ข้อตกลงจาไมก้า ค.ศ.1976 (Special Drawing Rights:SDR) 1.4.2 ข้อตกลงพลาซ่า ค.ศ.1985 (Dollar depreciation) 1.4.3 ข้อตกลงลูฟร์ ค.ศ.1987 บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2) การจัดกลุ่มระบบปริวรรตเงินตราระว่างประเทศในปัจจุบัน กองทุน IMF ได้จัดระบบปริวรรตเงินตราที่ประเทศต่างๆ 191 ประเทศใช้เป็น 10 กลุ่มดังนี้ 2.1 ระบบปริวรรตเงินตราที่พึ่งพาเงินสกุลต่างประเทศหรือสหภาพการเงิน 2.2 ระบบปริวรรตเงินตราที่ควบคุมโดยคณะกรรมการ (Currency Board) 2.3 ระบบปริวรรตเงินตราที่ผูกค่าเงินไว้กับสกุลอื่น (Pegged) 2.4 ระบบปริวรรตเงินตราแบบมีเสถียรภาพ 2.5 ระบบปริวรรตเงินตราแบบคงที่แต่ปรับเปลี่ยนทีละน้อย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2) การจัดกลุ่มระบบปริวรรตเงินตราระว่างประเทศในปัจจุบัน กองทุน IMF ได้จัดระบบปริวรรตเงินตราที่ประเทศต่างๆ 191 ประเทศใช้เป็น 10 กลุ่มดังนี้ (ต่อ) 2.6 ระบบปริวรรตเงินตราที่ปรับเปลี่ยนทีละน้อย 2.7 ระบบปริวรรตเงินตราที่ผูกไว้กับสกุลเงินอื่น แบบมีกรอบ 2.8 ระบบปริวรรตเงินตราแบบจัดการอื่นๆ 2.9 ระบบปริวรรตเงินตราแบบลอยตัว (Floating Exchange Rate) 2.10 ระบบปริวรรตเงินตราแบบลอยตัว เสรี (Free Floating Exchange Rate) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2) การจัดกลุ่มระบบปริวรรตเงินตราระว่างประเทศในปัจจุบัน ระบบปริวรรตเงินตราแบบลอยตัว เสรี (Free Floating Exchange Rate) การแทรกแซงจะมีขึ้นเมื่อเกิดความจำเป็นเท่านั้น โดย IMF ได้จัดแบ่งนโยบายการเงินต่างๆที่ใช้ดังนี้ ก. การกำหนดเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate Anchor) ข. การกำหนดเป้าหมายปริมาณเงินรวมใยประเทศ ค. การกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ (Inflation Targeting Framework) ง. อื่นๆ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3) สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) การเริ่มใช้สกุลยูโรนั้นเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่และนำความเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์การเงินโลกจากระบบคงที่ไปเป็นแบบลอยตัว ความพยายามในการรวมตลาดและใช้เงินสกุลเดียวกันทำให้กลุ่มสมาชิก EMU มีบทบาทสำคัญและอำนาจต่อรองในเวทีการค้าโลก 3.1) ความเป็นมาของระบบการเงินยุโรป (European Monetary System: EMS) ก. กลไกลอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rate Mechanism: ERM) ข. หน่อยเงินตรายุโรป (European Currency Unit: ECU) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3) สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) 3.2) การพัฒนาไปสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) .. มีวัตถุประสงค์หลักคือ 1. ลดความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศสมาชิก 2. ส่งเสริมการค้า การลงทุน ทั้งภายในและภายนอกยุโรป 3. ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกแข่งขันอย่างเท่าเทียมในการดึงดูดเงินทุน 4. ลดต้นทุนในการผลิตสินค้า เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน 5. เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงิน โดยใช้กลไกลธนาคารกลางแห่งยุโรป หรือ European Central Bank ที่จัดตั้งขึ้นที่ประเทศเยอรมนี บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3) สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) ทั้งนี้..กำหนดขั้นตอนในการพัฒนาโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ EMU แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 (ค.ศ.1990-1993) เปิดเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต ระยะที่ 2 (ค.ศ.1994-1998) เร่งรัดการรวมระบบเศรษฐกิจและการเงิน ระยะที่ 3 (ค.ศ.1999-ปัจจุบัน) เป็นระยะที่มีการใช้สกุลเงินยูโร ประเทศสมาชิกผ่านหลักเกณฑ์มาตรฐานร่วม หรือ Convergence Criteria นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกใช้นโยบายการเงินและนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราร่วมกันตามนโยบายของกลุ่มระบบธนาคารกลางแห่งสหภาพยุโรปหรือ ESCB บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3) สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) 3.3 หลักเกณฑ์มาตรฐานร่วม หรือ Convergence Criteria .. มีเกณฑ์ดังนี้ ก. เสถียรภาพทางด้านราคา ข. เสถียรภาพทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ค. เสถียรภาพด้านอัตราดอกเบี้ยระยะยาว ง. ภาระหนี้สินภาครัฐบาล จ. งบประมาณการคลัง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3) สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (EMU) 3.4 ธนาคารกลางแห่งยุโรป (European Central Bank: ECB) 3.5 การกำหนดมูลค่าเงินสกุลยูโร บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4) วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย วิวัฒนาการที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ไม่ได้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกมากนักเนื่องจากความแตกต่างการพัฒนา เศรษฐกิจ ซึ่งสามารถสรุปได้ตามระยะเวลาดังนี้ 4.1) ก่อนประกาศค่าเสมอภาค (พ.ศ.2492-2506) 4.2) ประกาศค่าเสมอภาค (พ.ศ.2506-2521) 4.3) กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวันร่วมกัน (พ.ศ.2521-2524) 4.4) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (พ.ศ.2524-2527) 4.5) ระบบตระกร้าเงิน (พ.ศ.2527-2540) 4.6) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (พ.ศ.2540-ปัจจุบัน) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5) วิกฤตการณ์ซับไพร์มของประเทศสหรัฐอเมริกา วิกฤต Subprime มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกาโดยมีผลต่อเนื่องจากการที่ธนาคาร กลางสหรัฐดำเนินนโยบายผ่อนปรนด้วยการคงอัตราดอกเบี้ยสกุลดอลลาร์สรอ.ไว้ที่ระดับ ต่ำเป็นเวลานานหลังจากผลกระทบจากเหตุการณ์ 9/11 และ ฟองสบู่ธุรกิจดอทคอม ปัญหาหลักเกิดจากการปล่อยสินเช้าชั้นดีหรือ (Prime Rate) ถึงจุดอิ่มตัว ธนาคารจึงเริ่มปล่อย สินเชื่อให้กับลูกหนี้ชั้นรองลงไป (Subprime) นอกจากนี้ การคิดเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆอย่างการแปลงหนี้เป็นสินทรัพย์ (Securitizations) อย่าง Mortgage–Backed Security (MBS) ซึ่งเป็นการนำสินเชื่อบ้านชั้นรอง (Subprime) มา รวมกันเป็นก้อนและนำไปเป็นหลักประกันขายต่ออีกทอดที่เรียกว่า Collateralized Debt Obligation (CDO) สร้างความรุนแรงสืบเนื่องให้กับเหตุการณ์นี้อย่างเท่าทวีคูณ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บทที่ 2: องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (AIIB) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 📌วัตถุประสงค์ บทนี้ กล่าวถึงประวัติความเป็นมาขององค์กรทางการเงินระหว่างประเทศที่สำคัญในเวทีโลก บทบาทหน้าที่แต่ละองค์กร ความสัมพันธ์ที่ประเทศไทยมีกับองค์กรต่างๆไม่ว่าจะเป็น กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) และ ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (AIIB) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) การประชุมที่เมืองเบรตตัน วูดส์ภายหลังช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ใกล้จะยุติลงมีการจัดตั้งองค์กรทางการเงิน ระหว่างประเทศ 2 องค์กรได้แก่ IMF และ World Bank 1.1 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนการเงินระหว่างประเทศคือ 1. สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ 2. สนับสนุนให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัวอย่างสมดุล 3. เสริมสร้างให้มีเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ 4. ดูแลระบบการชำระเงินระหว่างประเทศของประเทศสมาชิก 5. ให้ความสนับสนุนด้านการเงินแก่ประเทศสมาชิก 6. ลดความไม่สมดุลในดุลการชำระเงินของประเทศสมาชิก บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) 1.2 บทบาทและหน้าที่ของ IMF 1.2.1 ให้กู้ยืมเงิน (Lending) 1.2.2 ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค (Technical Assistance) 1.2.3 การสอดส่องดูแล (Surveillance) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

ระยะเวลาคืนนี้สืน (ปี) ระยะเวลาสูงสุดที่ขยายได้ (ปี) 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) 1.3 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือทางการเงินของ IMF รูปแบบของเงินกู้ยืม อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาคืนนี้สืน (ปี) ระยะเวลาสูงสุดที่ขยายได้ (ปี) งวดเวลา 1. Poverty Reduction and Growth Facility 0.5% ต่อปี N.A. 5.5-10 ทุก 6 เดือน 2. Stand-By Arrangements Basic Rate + Surcharge 2.25-4 3.25-5 ทุก 3 เดือน 3. Extended Fund Facility 4.5-7 4.5-10 4. Supplemental Reserve Facility 2-2.5 2.5-3 5. Compensatory Financing Basic Rate 6. Emergency Assistance บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) 1.4 สิทธิไถ่ถอนเงินพิเศษ (Special Drawing Right: SDRs) เพื่อให้ประเทศต่างๆสามารถนำไปใช้เป็นเงินทุนสำรองระหว่างประเทศร่วมกับทองคำได้ สกุลเงิน (มูลค่า ณ วันที่ 19 มีนาคม 2015) จำนวนเงินสกุลท้องถิ่น อัตราแลกเปลี่ยน จำนวนเท่ากับดอลลาร์ สรอ. ดอลลาร์ สรอ. 0.6600 1.00000 0.660000 ยูโร 0.4230 1.06990 0.452568 เยน 12.1000 120.67000 0.100273 ปอนด์สเตอริง 0.1110 1.48950 0.165335 1 SDRs = 1.37818 USD บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) 1.5 แหล่งเงินทุน .. IMF ใช้คำว่าทรัพยากรที่สามารถนำมาให้ประเทศสมาชิกกู้ยืมได้มาจากการชำระโควตาของประเทศสมาชิกต่างๆเป็นหลัก นอกจากนั้นยังได้มาจากการกู้ยืมเงินจากรัฐบาลกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม 10 ประเทศหรือ G-10 1.6 ความสัมพันธ์ระหว่าง IMF กับประเทศไทย .. ไทยได้เข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกอันดับที่ 44 เทื่อปี พ.ศ. 2492 มีคะแนนเสียง Vote 15,142 คะแนน หรือร้อยละ 0.60 ของคะแนนเสียงทั้งหมด คิดเป็นลำดับที่ 33 จากสมาชิก 188 ประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โควตาและคะแยยเสียง (Vote) ของประเทศสมาชิก 12 อันดับแรกใน IMF บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) โควตาและคะแนนเสียง (Vote) ของประเทศสมาชิก 12 อันดับแรกใน IMF บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ธนาคารโลก (World Bank: WB) ธนาคารโลกได้ถือกำเนิดขึ้นพร้อมๆกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศในการประชุมที่เมืองเบรตตัน วูดส์ 2.1 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งธนาคารโลก 2.2 บทบาทธนาคารโลก ธนาคารโลกแตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปคือ ก. มีเจ้าของร่วมกัน 188 ประเทศ ข. จุดประสงค์หลักให้กู้ยืมเงินเพื่อต่อสู้ความยากจนของประเทศ ค. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ต่ำกว่าทั่วไป ง. ระยะเวลาชำระหนี้ยาวนานกว่าทั่วไป บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ธนาคารโลก (World Bank: WB) 2.3 แหล่งเงินทุนของธนาคารโลก .. ธนาคารโลกมีสถาบันที่อยู่ภายใต้การควยคุมดูแลกอีก 4 สถาบัน 1. สมาคมเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (International Development Association) 2. บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (International Finance Corporation) 3. สถาบันประกันการลงทุนแบบพหุภาคี (Multilateral Investment Guarantee Agency) 4. ศูนย์เจจาข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างประเทศ (International Centre for the Settlement of Investment Disputes) 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารโลกกับประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) เป็นสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่เก่าแก่ที่สุดในโลก 3.1 วัตถุประสงค์การจัดตั้ง BIS 3.2 บทบาทและรูปแบบการดำเนินงานของ BIS ก. เป็นธนาคารกลางของประเทศสมาชิกและองค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ ข. ประสานความร่วมมือระหว่างธนาคารกลางของประเทศสมาชิก ค. เสริมสร้างเสถียรภาพของระบบการเงินระหว่างประเทศ ง. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ วิจัยทางด้านเศรษฐกิจและการเงิน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) การเปรียบเทียบเงินกองทุนตามมาตรฐานของ BIS กับเงินกองทุนตามความหมายของธนาคารแห่งประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) สำหรับสินทรัพย์เสี่ยงของธนาคารพาณิชย์นั้นได้จัดกลุ่มสินทรัพย์เสี่ยงตามน้ำหนักความเสี่ยง 4 กลุ่ม ก. สินทรัพย์เสี่ยงที่มีน้ำหนักเท่ากับ 0.0 ข. สินทรัพย์เสี่ยงที่มีน้ำหนักเท่ากับ 0.2 ค. สินทรัพย์เสี่ยงที่มีน้ำหนักเท่ากับ 0.5 ง. สินทรัพย์เสี่ยงที่มีน้ำหนักเท่ากับ 1.0 บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ (BIS) หลักเกณฑ์การกำกับดูแลเงินกองทุนสำหรับธนาคารพาณิชย์ไทยตามแนวทางของ Basel III (บังคับใช้ 1 มกราคม 2556) มีรายละเอียดดังนี้ ก. มาตรการดำรงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ข. การปรับปรุงการคำนวณสินทรัพย์เสี่ยง ค. การปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของเงินกองทุน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) เป็นธนาคารเพื่อการพัฒนาระดับภูมิภาค ภายใต้ประเทศ สมาชิกก่อตั้ง 31 ประเทศในกลุ่ม ESCAP ก่อตั้งขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ 4.1 วัตถุประสงค์และทุนดำเนินการของ ADB 4.1.1 เงินทุนสามัญ 4.1.2 เงินทุนกองทุนพิเศษ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) 4.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง ADB กับประเทศไทย 4.2.1 ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการมีสำนักงานผู้แทนธนาคารในประเทศไทย ก. ความได้เปรียบของประเทศในหลายๆด้านเช่น ภฒิศาสตร์ ข. เป็นตัวอย่างที่ดีในการดึงดูดองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ ค. ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชียให้ความสำคัญกับการส่งเสริมความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ ง. มุ่งเน้นการให้ความช่วยเหลือรูปแบบเงินกู้ การค้ำประกันเงินกู้และการสนับสนุน ภาคเอกชน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (AIIB) ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank) เป็น ธนาคารเพื่อการพัฒนาระดับพหุภาคีที่รัฐบาลจีนเป็นผู้เสนอจัดตั้งขึ้นเพื่อให้การสนับสนุนโครง ด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศต่างๆในภูมิภาคเอเชีย 5.1 ประวัติการจัดตั้ง AIIB 5.2 ความสำเร็จของ AIIB และผลกระทบต่อประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บทที่ 3: ดุลการชำระเงิน ความหมายของรายได้ประชาชาติ ความหมายของดุลการชำระเงิน ความสำคัญของการจัดทำบัญชีดุลการชำระเงิน ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี ผลกระทบจากการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุล ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สถานการณ์ดุลชำระเงินของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537-2557 การโยกย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 📌วัตถุประสงค์ บทนี้ อธิบายถึงความหมายของรายได้ประชาชาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ตลอดจนดุลการชำระเงิน ซึ่งมีผลต่อการเติบโตเศรษฐกิจ การกำหนดนโยบายการเงินและการคลังของประเทศ บทนี้ยังอธิบายถึงการบันทึกรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในบัญชีดุลชำระเงิน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจ และอธิบายการโยกย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ (Capital Fight) ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดวิกฤติการณ์ทางการเงินในหลายประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความหมายของรายได้ประชาชาติ รายงานทางเศรษฐกิจ 2 ประเภทที่สำคัญคือ บัญชีรายได้ประชาติ (National Income Account: NI) และบัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of Payment Accounts: BOPs) รายได้ประชาชาติในเชิงเศรษฐศาสตร์มีความหมายเดียวกับ Gross National Product: GNP หรือผลิน ภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ การที่กำหนดให้ GNP เหมือนหรือเท่ากับ NI จึงต้องมีการปรับแต่งบางรายการ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความหมายของรายได้ประชาชาติ การที่กำหนดให้ GNP เหมือนหรือเท่ากับ NI จึงต้องมีการปรับแต่งบางรายการ ก. หักค่าเสื่อมราคา (Depreciation: DP) สินทรัพย์ประเภททุน จะได้ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP) NNP = GNP - DP บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความหมายของรายได้ประชาชาติ ข. บวกรายได้เงินโอน (Unilateral Transfers: UT) ค. หักภาษีธุรกิจทางอ้อม (Indirect Business Taxes: IBT) NI = GNP – DP + UT – IBT NI = NNP + UT – IBT บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความหมายของรายได้ประชาชาติ 1.1 ผลิตภภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) .. โดยทั่วไปมักถูกใช้มากกวา ตัวเลข GNP อย่างไรก็ตามในทางปฎิบัติไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 1.2 รายได้ประชาชาติสำหรับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (Open Economy) .. สามารถแจกแจงรายได้ใน บัญชีรายได้ประชาชาติหรือ GNP ได้ดังนี้ ก. การบริโภคภาคเอกชน ข. การลงทุนภาคเอกชน ค. การใช้จ่ายภาครัฐ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความหมายของรายได้ประชาชาติ ดังนั้น ในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (Open Economy) จะได้ความสัมพันธ์ของรายได้ประชาชาติ หรือผลิตภัณฑ์มลรวมประชาฃาติคือ Y คือ รายได้ประชาชาติหรือผลิตภัณฑ์มลรวมประชาฃาติ C คือ การบริโภคภาคเอกชน, I คือ การใช้จ่ายเพื่อการลงทุนภาคเอกชน G คือ การใช้จ่ายภาครัฐ EX คือ การส่งออกสินค้าและบริการ, IM คือ การนำเข้าสินค้าแลกบริการ Y = C + I + G + EX - IM บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความหมายของดุลการชำระเงิน ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments: BOP) คือรายงานทางสถิติที่ได้จากการรวบรวมรายการ ทางเศรษฐกิจและการเงินอย่างเป็นระบบระหว่างผู้มีถิ่นฐานประเทศหนึ่งกับประเทศอื่นๆในรอบ ระยะเวลาหนึ่ง .. ความหมายโดยละเอียดคือ 2.1 รายการทางเศรษฐกิจและการเงิน 2.2 ผู้มีถิ่นฐาน 2.3 รอบระยะเวลา บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสำคัญของการจัดทำบัญชีดุลการชำระเงิน ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments: BOP) มีความสำคัญต่อประเทศดังนี้ 3.1 การพิจารณารายรับและรายจ่ายของเงินตราสกุลต่างประเทศ เพื่อช่วยในการวางแผนทางเศรษฐกิจ 3.2 การคาดคะเนศักยภาพของตลาด 3.3 การวางแผนนโยบายการเงินและการคลังของประเทศ 3.3.1 นโยบายการเงิน .. นโยบายการเงินของประเทศไทยแบ่งเป็น 3 ระยะ 1. การผูกค่าเงินบาทไว้กับทองคำ หรือค่าเงินอื่น หรือกับตระกร้าเงิน (หลัง WWII ถึง พ.ศ.2540) 2. การกำหนดเป้าหมายทางการเงิน (พ.ศ.2540-พ.ศ.2543) 3. การกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ (พ.ศ.2543-ปัจจุบัน) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสำคัญของการจัดทำบัญชีดุลการชำระเงิน 3.3.2 การดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง .. ในปัจจุบันอัตราส่วนการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง เท่ากับร้อยละ 6 ซึ่งประกอบด้วย ก. เงินฝากที่ธปท.ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1 ข. เงินสดในมือธนาคารพาณิชย์ไม่เกินร้อยละ 2.5 และ ค. หลักทรัพย์ปราศจากภาระผูกพันในส่วนที่เหลือ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสำคัญของการจัดทำบัญชีดุลการชำระเงิน 3.3.3 การดำเนินการผ่านตลาดการเงิน .. สามารถทำได้ผ่านขั้นตอนหลัก ก. การทำธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรแบบทวิภาคี ข. การทำธุรกรรมซื้อขาด/ขายขาดหลักทรัพย์รัฐบาล ค. การออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ง. การสว็อพอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ จ. หน้าต่างซื้อตราสารหนี้ธปท. 3.3.4 หน้าต่างตั้งรับ 3.3.5 นโยบายการคลัง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี บัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศประกอบด้วยรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจแลกการเงินที่ เกิดขึ้นระหว่างประเทศ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท 4.1 บัญชีเดินสะพัด .. ประกอบด้วย ก. บัญชีดุลการค้า ข. บัญชีดุลบริการ ค. บัญชีรายได้ ง. บัญชีเงินโอน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี บัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศประกอบด้วยรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจแลกการเงินที่ เกิดขึ้นระหว่างประเทศ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท (ต่อ) 4.2 บัญชีเงินทุน .. ประกอบด้วย ก. เงินลงทุนโดยตรง ข. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ค. เงินลงทุนประเภทอื่นๆ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี บัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศประกอบด้วยรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจแลกการเงินที่ เกิดขึ้นระหว่างประเทศ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท (ต่อ) 4.3 บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังมี รายการสถิติคลาดเคลื่อน ก่อนถึงบัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศอีกด้วย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี 4.4 วิธีการบันทึกรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจและการเงินในบัญชีดุลการชำระเงิน .. ใช้หลักบัญชีคู่ ซึ่งจะต้องมีการบันทึกทั้ง เดบิตและเครดิต ให้สมดุลกัน 4.5 รายการในบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ 4.6 ตัวอย่างการบันทึกรายการทางเศรษฐกิจและการเงินในบัญชีดุลการชำระเงิน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ส่วนประกอบของดุลการชำระเงินและวิธีการบันทึกบัญชี บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ผลกระทบจากการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุล ในทางทฤษฎี ประเทศต่างๆจะพยายามรักษาดุลการชำระเงินให้อยู่ในสภาวะสมดุลเพื่อรักษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามประเทศต่างๆมักประสบกับการที่ดุลการชำระเงินไม่สมดุลซึ่งผลกระทบ พอที่จะสามารถสรุปได้ดังนี้ ก. ฐานะทุนสำรองระหว่างประเทศเปลี่ยนไป ข. ฐานะหนี้สินระหว่างประเทศเปลี่ยนไป ค. ความคล่องตัวทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่เปลี่ยนไป ง. ระบบเศรษฐกิจภายในประเทศขาดเสถียรภาพ จ. การขยายตัวทางเศรษฐกิจในประเทศไม่เป็นไปตามเป้าหมาย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บัญชีดุลการชำระเงิน = บัญชีเดินสะพัด + บัญชีเงินทุน 6.) ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินและตัวแปรอื่นๆในระบบเศรษฐกิจของประเทศ X คือ การส่งออกสินค้าและบริการ, M คือ การนำเข้าสินค้าและบริการ CI คือ เงินทุนไหลเข้า, CO คือ เงินทุนไหลออก บัญชีดุลการชำระเงิน = บัญชีเดินสะพัด + บัญชีเงินทุน BOPs = (X – M) + (CI – CO) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) ผลกระทบของดุลการชำระเงินต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ผลกระทบจากความไม่สมดุลในดุลการชำระเงินระหว่างประเทศแยกได้เป็น 3 กรณีคือ ก. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบคงที่ ข. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบลอยตัว ค.. ประเทศที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราลอยตัวแบบจัดการ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 7.) สถานการณ์ดุลชำระเงินของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537-2557 7.1 ดุลบัญชีเงินสะพัด 7.2 บัญชีเงินทุนสุทธิ 7.3 ภาพรวมของดุลการชำระเงิน การเกิด Capital Fight บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 7.) สถานการณ์ดุลชำระเงินของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537-2557 ดุลการชำระเงินของประเทศไทยตั้งแต่ปี 1993 - 2015 บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 8.) การโยกย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ การโยกย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ หรือ Capital Fight หมายถึงการเคลื่อนย้ายเงินทุนออกนอก ประเทศจากการเก็งกำไรระยะสั้น อย่างไรก็ตามอาจควบคุมเงินทุนทั้งหมดที่ไหลออกจากเศรษฐกิจ ของประเทศ 8.1 การวัดการไหลของเงินทุน 8.2 การโยกย้ายเงินทุนเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ 8.2.1 การโยกย้ายเงินทุนทำให้อัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศไม่มีสเถียร ภาพ 8.2.2 การโยกย้ายเงินทุนแสดงถึงความแตกต่างในอัตราผลตอบแทนระหว่างภาคเอกชนกับภาค สังคม 8.2.3 การโยกย้ายเงินทุนเมื่อออกไปแล้วจะไม่กลับเข้าสู่ประเทศอีก 8.2.4 การโยกย้ายเงินทุนทำให้การลงทุนภายในประเทศลดลง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 8.) การโยกย้ายเงินทุนออกนอกประเทศ 8.3 การวิจัยในเชิงประจักษ์ 8.3.1 การประยุกต์ใช้ผลการวิจัยในเชิงนโยบาย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บทที่ 4: ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ลักษณะตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ หน้าที่ของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ขนาดของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ประเภทธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 📌วัตถุประสงค์ บทนี้ กล่าวถึงลักษณะทั่วไปของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการชำระราคาสินค้าที่มีการซื้อขายกัน จากนั้นจะได้อธิบายถึงกลุ่มบุคคลต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ภาพรวมของตลาดปริวรรตเงินตรา ตลอดจนวิธีการเสนอราคาทั้งในตลาดทันทีและตลาดล่วงหน้า สำหรับหัวข้อสุดท้ายจะเกี่ยวข้องกับตลาดปริวรรตเงินตราในประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ในปัจจุบันการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศมีการขยายตัวมาก การทำธุรกรรมระหว่างกันต้องมีเงิน หลากหลายสกุลเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยสามารถอธิบายได้ดังนี้ ผู้ซื้อเงินตราต่างประเทศ หมายถึง ผู้นำเข้า ผู้ลงทุนที่ต้องการใช้เงินตราต่างประเทศ ผู้ขายเงินตราต่างประเทศ หมายถึง ผู้ส่งออก หรือผู้ที่ได้รับชำระหนี้เงินตราต่างประเทศ โดยลักษณะที่สำคัญของลักษณะตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศคือ ก. เป็นตัวกลางนำผู้ซื้อ/ผู้ขายที่ต้องการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมาพบกัน ข. ไม่มีที่ตั้งเฉพาะเจาะจง แต่กระจายตามเมืองหลักทางการเงินของโลก บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) หน้าที่ของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 1. การโอนอำนาจซื้อ ผู้ประกอบการมีถิ่นฐานคนละประเทศ ตกลงใช้เงินสกุลหลักในการโอนอำนาจซื้อ 2. การให้สินเชื่อ Banker Acceptance, Letter of credit, Trust Receipt สำหรับการขนส่ง ส่งมอบสินค้า 3. การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ก. ตัวกลางซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (FX Dealer ทำกำไรจากส่วนต่าง) ผู้ทำตลาด (Market Maker) ทำหน้าที่สร้างอุปสงค์ อุปทาน ข. นายหน้าซื้อขายเงินตราต่างประเทศ broker ค. นักลงทุนและบริษัทเอกชนต่างๆ ง. นักเก็งกำไร นักเก็งกำไรค่าเงิน นักเก็งกำไรโดยปราศจากความเสี่ยง จ. ธนาคารกลางและหน่วยงานคลังของรัฐ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ขนาดของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ BIS ได้มีการประสานงานกับธนาคารกลางต่างๆทั่วโลกเพื่อสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับตลาดปริวรรตเงินตรา ต่างประเทศ โดยมูลค่าซื้อขายเงินตราต่างประเทศเฉลี่ยต่อวันในตลาดที่สำคัญมีดังนี้ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ขนาดของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ มูลค่าซื้อขายเงินตราต่างประเทศเฉลี่ยต่อวัน แยกตามประเภทธุรกรรมการซื้อขาย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ขนาดของตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ จากข้อมูลในตารางและแผนภาพข้างต้นจะเห็นว่า ก. มูลค่าการซื้อขายเงินตราสกุลต่างๆในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศแต่ละแห่งมีปริมาณ สูงขึ้น ข. ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศอังกฤษเป็นตลาดที่มีมูลค่าการซื้อขายสูงสุดในโลก ค. เงินสกุลดอลลาร์ สรอ. เป็นเงินสกุลที่มีการซื้อขายมากที่สุด บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ประเภทธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 5.1 การทำธุรกรรมทันที (Spot Transaction) 5.2 การทำธุรกรรมล่วงหน้า (Forward Transaction) 5.3 การทำธุรกรรมสว็อพอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Fx Forward Swap) 5.3.1 ธุรกรรมสว็อพแบบทันที-ล่วงหน้า (Spot-Forward Swap) 5.3.2 ธุรกรรมสว็อพแบบล่วงหน้า-ล่วงหน้า (Forward-Forward Swap) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ประเภทธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 5.3.1 ธุรกรรมสว็อพแบบทันที-ล่วงหน้า (Spot-Forward Swap) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ประเภทธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 5.3.2 ธุรกรรมสว็อพแบบล่วงหน้า-ล่วงหน้า (Forward-Forward Swap) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 6.1 ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ Foreign Exchange Rate คือ .. 6.2 วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 6.2.1 การเสนอราคาโดยตรง (Direct Quotation) 6.2.2 การเสนอราคาโดยอ้อม (Indirect Quotation) 6.2.3 การเสนอราคาแบบ European Term 6.2.4 การเสนอราคาแบบ American Term บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินต่างๆทั้งโดยตรงและโดยอ้อม (14 เมษายน พ.ศ.2558) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 6.2.5 การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนมีข้อสังเกตดังนี้ ก. Indirect Rate = 1 / Direct Rate ข. Indirect Offer Rate = 1 / Direct Bid Rate ค. Indirect Bid Rate = 1 / Direct Offer Rate บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 6.3 ประเภทการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 6.3.1 อัตรารับซื้อ 6.3.2 อัตราเสนอขาย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) วิธีการเสนอราคาในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 6.3 ประเภทการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

7.) รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 7.1 การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศแบบ Outright 7.2 การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าแบบ Points ถ้า Bid Points > Offer Points ต้องนำ Points มาหักออกจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที ถ้า Bid Points < Offer Points ต้องนำ Points มาบวกเพิ่มจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที (โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

7.) รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 7.1 การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศแบบ Outright 7.2 การเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าแบบ Points ถ้า Bid Points > Offer Points ต้องนำ Points มาหักออกจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที ถ้า Bid Points < Offer Points ต้องนำ Points มาบวกเพิ่มจากอัตราแลกเปลี่ยนทันที (โดยไม่ต้องคำนึงถึงเครื่องหมาย) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 7.) รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 7.3 การเสนออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าแบบเปอร์เซ็นต์ส่วนเพิ่ม (Premium) หรือส่วนลด (Discount) กรณี Indirect Quotation . กรณี Direct Quotation บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 7.) รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 7.4 ตัวอย่างการเนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนในหนังสือพิมพ์ต่างประเทศ 7.5 อัตราแลกเปลี่ยนข้ามสกุล (Cross Rate) 7.6 การค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยงในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ขั้นตอนในการทำ Triangular Arbitrage บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 7.) รูปแบบการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ฮ่องกง เริ่มขาย HK$1,000,000 สิ้นสุดรับ HK$1,000,968.96 (ต้องการซื้อ US$) หารด้วย Offer HK$7.7850/US$ (ต้องการขาย C$) คูณด้วย Bid HK$5.4650/C$ แคนนาดา สหรัฐอเมริกา (ต้องการขาย US$) คูณด้วย Bid C$1.4259/US$ C$183,159.92 US$128,452.15 บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 8.) ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย โครงสร้างตลาดตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทยประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3 กลุ่ม ก. องค์กรของรัฐที่ควบคุมการปริวรรตเงินตรา ข. คนกลางในการซื้อขายเงินตรา ค. ลูกค้าและธุรกิจทั่วไป บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 8.) ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย 8.1 ธนาคารพาณิชย์กับการปริวรรตเงินตรา รายการของธนาคารพาณิชย์สามารถแยกได้เป็น 4 ประเภท ก. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับธปท. ข. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับธนาคารพาณิชย์ด้วยกัน ค.การซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับธนาคารในต่างประเทศ ง. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศกับบริษัทเอกชน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 8.) ตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย 8.2 มาตราการผ่อนคลายการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ กระทรวงการคลังได้ออกประกาศฯเพื่อให้ระบบการเงินของไทยมีความยืดยุ่นและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น สามารถสรุปสาระสำคัญจากประกาศทั้ง 2 ฉบับได้ 8 ข้อ 8.3 ปริมาณการซื้อขายเงินตราต่างประเทศในตลาดปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บทที่ 5: เงื่อนไขเสมอภาคระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีต่างๆภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การพยากรณ์อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 📌วัตถุประสงค์ บทนี้ กล่าวถึงทฤษฎีต่างๆภายต่างเงื่อนไขเสมอภาคระหว่างประเทศ(International Parity Conditions) โดยมีข้อสมมติฐานประเทศต่างๆใช้ระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศแบบลอยตัวเสรี ในกลุ่มแรกกล่าวถึงกฎสินค้าราคาเดียว(The Law of one price) ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาค (PPP) ทั้งแบบสมบูรณ์และเปรียบเทียบ ขณะที่กลุ่มที่สองเป็นการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศโดยใช้ทฤษฎี Fisher Effect และ International Fisher Effect จากนั้นกล่าวถึงทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคเป็นต้น บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 1.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค การศึกษาความสัมพันธ์ต่างๆระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเพ้อ และอัตราดอกเบี้ย ภายใต้ข้อสมมติฐาน Freely Floating Exchange rate เพื่อนำไปคาดการณ์อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศในอนาคต บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.1 กฎสินค้าราคาเดียว (Law of One Price) “ สินค้าชนิดเดียวกันในตลาดสองประเทศควรมีราคาเท่ากัน เมื่อคิดเทียบกลับเป็นเงินตราสกุลเดียวกัน ” โดยมีความสัมพันธ์ดังนี้ (S) ถ้าเป็นการเสนอราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบทางตรง (S*) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.1 กฎสินค้าราคาเดียว (Law of One Price) ตัวอย่าง 1 S = …. บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.2 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบสมบูรณ์ (The Absolute Purchasing Power Parity) “ ราคาของกลุ่มสินค้าชนิดเดียวกันในตลาดแต่ละประเทศควรเท่ากันเมื่อคิดเทียบกลับเป็นเงินตราสกุลเดียวกัน ” อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินตรา 2 สกุล แบบโดยอ้อม (S) อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินตรา 2 สกุล แบบโดยตรง(S*) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.2 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบสมบูรณ์ (The Absolute Purchasing Power Parity) ตัวอย่าง 2 S = … บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบเปรียบเทียบ (The Relative Purchasing Power Parity) “ ถ้าหากประเทศหนึ่งมีอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอีกประเทศหนึ่ง ค่าเงินตราของประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าจะลดลงเมื่อเทียบกับค่า เงินตราของประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อต่ำกว่า เป็นเปอร์เซ็นต์ที่เท่ากับความแตกต่างของเงินเฟ้อระหว่าง 2 ประเทศนั้น” อัตราแลกเปลี่ยนทันทีระหว่างเงินตรา 2 สกุล แบบโดยอ้อม (S1 และ S2) อัตราแลกเปลี่ยนทันทีระหว่างเงินตรา 2 สกุล แบบโดยตรง (S1* และ S2*) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบเปรียบเทียบ (The Relative Purchasing Power Parity) ตัวอย่าง 3 การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยอ้อม (%) = … บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบเปรียบเทียบ (The Relative Purchasing Power Parity) ตัวอย่าง 3 การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยอ้อม (%) = … บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบเปรียบเทียบ (The Relative Purchasing Power Parity) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยนตาม The Relative Purchasing Power Parity บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 2.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราแลกเปลี่ยน 2.3 ทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอภาคแบบเปรียบเทียบ (The Relative Purchasing Power Parity) ปัญหาและอุปสรรคในการทดสอบทฤษฎีอำนาจซื้อเสมอ 1. ดัชนีราคาสินค้าในแต่ละประเทศที่นำมาทดสอบไม่สามารถใช้ราคาของกลุ่มสินค้าที่เป็น Identical 2. ต้องใช้อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต 3. การแทรกแซงของรัฐเรื่องการค้า บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.1 ทฤษฎี The Fisher Effect “ อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงินของแต่ละเป็นประเทศจะเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงบวกด้วยอัตราเงินเฟ้อที่คาด ว่าจะเกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ ” อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงิน (i) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.1 ทฤษฎี The Fisher Effect อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงิน (i) สามารถแสดงได้อีกรูปแบบคือ f หมายถึง ต่างประเทศ, d หมายถึง ในประเทศ I หมายถึง อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.1 ทฤษฎี The Fisher Effect บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.1 ทฤษฎี The Fisher Effect อย่างไรก็ตามในบางสถานการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยไม่เป็นไปตามทฤษฎีจึงเกิด อย่างเช่นจุด D ในแผนภาพที่ 5.2 กลไกลการปรับตัวคือ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ในทางตรงกันข้ามที่จุด E กลไกลการปรับตัวคือ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.2 ทฤษฎี The International Fisher Effect “ ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงินในตลาดเงินสองประเทศ จะเท่ากับเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างเงินตราสองสกุลนั้น แต่มีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงกันข้าม ” แสดงได้ดังนี้ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.2 ทฤษฎี The International Fisher Effect อัตราแลกเปลี่ยนทันที ณ เวลาปัจจุบันและหนึ่งงวดนับจากวันนี้แบบโดยอ้อม (S1) อัตราแลกเปลี่ยนทันที ณ เวลาปัจจุบันและหนึ่งงวดนับจากวันนี้แบบโดยตรง (S1*) บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.3 ทฤษฎี Interest Rate Parity “ เปอร์เซ็นต์ความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างของสองประเทศ จะเท่ากับเปอร์เซ็นต์ส่วนเพิ่มหรือส่วนลด (Forward Premium/Discount) ของอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของเงินตราสองสกุลนั้น แต่มีทิศทางตรงกันข้าม ” แบบทางตรง แบบทางอ้อม บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.3 ทฤษฎี Interest Rate Parity กลไกลของทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.4 การค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยงจากความแตกต่างในอัตราดอกเบี้ย Covered Interest Arbitrage หรือ CIA มาจากการเสนออัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินอาจไม่อยู่ในสภาวะสมดุลตามทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค นักค้ากำไรจึงสามารถแสวงหาประโยชน์จากสถานการณ์ดังกล่าวได้ ตัวอย่าง วิธีการ ก. ตรวจสอบดุลยภาพตาม IRP ข. ตรวจสอบดุลยภาพด้วยการคำนวณอัตราส่วนเพิ่มหรือส่วนลด บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.4 การค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยงจากความแตกต่างในอัตราดอกเบี้ย ตัวอย่าง วิธีการ (ต่อ) ค. เปรียบเทียบข้อ ก. และ ข. ง. ขั้นตอนการค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.4 การค้ากำไรโดยปราศจากความเสี่ยงจากความแตกต่างในอัตราดอกเบี้ย กลไกลการปรับตัวของตลาดเงินหากเกิดสภาวะไม่สมดุล บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.5 ทฤษฎีอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าเป็นค่าพยากรณ์อย่างไม่มีอคติของอัตราแลกเปลี่ยนทันทีในอนาคต “ อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) สามารถใช้เป็นค่าพยากรณ์ของอัตราแลกเปลี่ยนทันทีที่จะเปิดขึ้นในอนาคต (Future Spot Rate) ได้ ทั้งนี้อาจมีความคลาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบ ” ตลาดที่มีประสิทธิภาพจะประกอบด้วย ก. ข้อมูลข่าวสารรวดเร็วทั่วถึง ข. ค่าใช้จ่ายธุรกรรมต่ำ ค. ผลจากการลงทุนสุทธิไม่แตกต่างกัน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน 3.5 ทฤษฎีอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าเป็นค่าพยากรณ์อย่างไม่มีอคติของอัตราแลกเปลี่ยนทันทีในอนาคต การพยาการณ์ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน สรุปภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ทฤษฎี นิยาม สมการ หมายเหตุ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน สรุปภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ทฤษฎี นิยาม สมการ หมายเหตุ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน สรุปภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ทฤษฎี นิยาม สมการ หมายเหตุ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

3.) ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน สรุปภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค ทฤษฎี นิยาม สมการ หมายเหตุ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีต่างๆภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 4.) ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีต่างๆภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค The Relative Purchasing power Parity The Fisher Effect The International Fisher Effect The Interest Rate Parity Forward Rate as an Unbiased Predictor of the Future Spot Rate บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.1 ดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ก. อุปสงค์เงินตรา บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.1 ดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ข. อุปทานเงินตรา บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.1 ดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ดุลยภาพและส่วนเกิน บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 1. Relative Inflation Rates จะเกิดอะไรขึ้นเมื่ออัตราเงินเฟ้อเปรียบเทียบเปลี่ยนแปลง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ข. Relative Interest Rates จะเกิดอะไรขึ้นเมื่ออัตราดอกเบี้ยเปรียบเทียบเปลี่ยนแปลง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ค. Relative Income Level จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อระดับรายได้เปรียบเทียบเปลี่ยนแปลง บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 5.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา 2. การควบคุมของรัฐ 3. ความคาดหวัง จ. ปฎิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 5.) ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา สรุป บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) การพยากรณ์อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 6.1 ความจำเป็นของบริษัทข้ามชาติ 6.1.1 เพื่อการบริหารบัญชีลูกหนี้และเจ้าหนี้ 6.1.1 เพื่อการเสนอราคาสินค้า 6.1.3 เพื่อการบริหารเงินทุนหมุนเวียน 6.1.4 เพื่อการตัดสินใจลงทุนในต่างประเทศ บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน 6.) การพยากรณ์อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 6.2 วิธีการพยากรณ์ 6.2.1 Fundamental Analysis ก. การวิเคราะห์บัญชีดุลการชำระเงิน ข. การวิเคราะห์บัญชีระดับทุนสำรองระหว่างประเทศ ค. การวิเคราะห์ GDP ง. การวิเคราะห์ ค่าใช้จ่ายภาครัฐ จ. การวิเคราะห์ อัตราเงินเฟ้อเปรียบเทียบ ฉ. การวิเคราะห์ Money Supply 6.2.2 Technical Analysis บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน QUESTIONS & ANSWERS บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน QUESTIONS & ANSWERS บรรยายโดย คุณสาธิต วรรณศิลปิน

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร การบริหารความเสี่ยง โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร

นิยาม ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีความแน่นอนว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งหากเกิดขึ้นจะส่งผลกระทบเชิงลบหรือทำให้การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ทั้งในด้านกลยุทธ์ การปฏิบัติงาน การเงิน และการกฏเกณฑ์

ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยง ความหมาย ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงที่เกิดจากกิจกรรมทางการดาเนินงานขององค์กร การกาหนดกลยุทธ์ หรือแผนงาน และนโยบายในการบริหารงาน ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) ความเสี่ยงที่เกิดจากการปฏิบัติงานทุก ๆ ขั้นตอนโดยครอบคลุมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการ อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรในการปฏิบัติงาน เป็นต้น ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk หรือ Reporting Risk) ความเสี่ยงที่เกิดจากความไม่พร้อมในเรื่องงบประมาณ การเงินที่ใช้ในการดาเนินการโครงการนั้นๆ เป็นต้น (ความเสี่ยงจากการลงทุน ถือเป็นส่วนหนึ่งของความเสี่ยงด้านการเงิน) ความเสี่ยงด้านกฏเกณฑ์ (Compliance Risk) ความเสี่ยงที่เกิดจากการไม่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องได้ หรือ กฎหมายที่มีอยู่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน

ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk)

ความเสี่ยงทางการลงทุน (Investment Risk) ความเสี่ยงที่เป็นระบบ (Systematic Risk) - เป็นความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อตลาดทั้งระบบ มักจะเรียกอีกชื่อว่า Market Risk หรือ Undiversificable Risk เป็นความเสี่ยงที่ไม่สามารถทำให้ลดลงได้จากการกระจายการลงทุน ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ (Unsystematic Risk) - เป็นความเสี่ยงที่เกิดเฉพาะตัวกับธุรกิจ หรือ หลักทรัพย์นั้น ๆ นักลงทุนสามารถลดความเสี่ยงนี้ลงได้ด้วยการจัดพอร์ตลงทุนของตนเองให้มีการกระจายการลงทุนที่เหมาะสม

ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงทางการเงิน สำหรับบริษัทด้านการเงิน การธนาคาร

วิธีการจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงองค์กร (ERM) ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk หรือ Reporting Risk) - ความเสี่ยงตลาด ความเสี่ยงด้านเครดิต - ความเสี่ยงสภาพคล่อง - ความเสี่ยงการรายงานทางบัญชี - ตราสารอนุพันธ์ - การใช้เครื่องมือทางการเงินในการกู้ยืมเงินระยะสั้น - การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงองค์กร (ERM) ความเสี่ยงด้านกฏเกณฑ์ (Compliance Risk)

ตราสารอนุพันธ์ “อนุพันธ์” คือ ตราสารทางการเงินประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นสัญญาหรือข้อตกลงที่จะซื้อหรือขายสินค้าในราคา ปริมาณ และเงื่อนไขอื่นที่ตกลงกันไว้ โดยจะทำการส่งมอบสินค้ากันในอนาคต ทั้งนี้ มูลค่าของอนุพันธ์ขึ้นอยู่กับมูลค่าของสินค้าที่ตกลงซื้อขาย หากมูลค่าของสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไป อนุพันธ์ก็จะมีมูลค่าเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย

ตัวอย่างหลักทรัพย์อ้างอิงในตราสารอนุพันธ์ หลักทรัพย์อ้างอิง (Underlying Assets) ในปัจจุบัน เช่น หุ้นสามัญ ดัชนีกลุ่มหลักทรัพย์ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ทองคำ น้ำมันดิบ และดัชนีทางการเงินอื่นๆ

ตลาดตราสารอนุพันธ์ ตลาดตราสารอนุพันธ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Over The Counter (OTC) - การตกลงซื้อขายที่คู่สัญญาติดต่อกันโดยตรง หรือติดต่อผ่านคนกลาง - กำหนดรายละเอียดสัญญาตามความต้องการของคู่สัญญา (Tailor-made) ศูนย์ซื้อขายอนุพันธ์ (Derivatives Exchange) - เป็นศูนย์ซื้อขายที่จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ - ซื้อขายผ่านระบบที่ศูนย์ซื้อขายจัดให้มีขึ้น ซึ่งอาจเป็นแบบตกลงซื้อขายในห้องค้า (Open Outcry) หรือ ซื้อขายผ่านระบบคอมพิวเตอร์ - มีการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ชัดเจน เช่น ลักษณะของสัญญาที่เป็นมาตรฐาน วิธีการซื้อขาย การชำระราคาและส่งมอบ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลอย่างทั่วถึงด้วย

ปรเภทตราสารอนุพันธ์ ตราสารอนุพันธ์ ตลาดอนุพันธ์ สัญญาฟอร์เวิร์ด (Forward Contract) ตลาด OTC สัญญาฟิวเจอร์ (Futures) ตลาด Exchange สัญญาสวอป (SWAP Contract) สัญญาออปชั่น (Option) รายละเอียดของตราสารอนุพันธ์แต่ละประเภท จะได้ศึกษากันต่อไป

การบริหารความเสี่ยงองค์กร

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

นิยาม การบริหารความเสี่ยงองค์กร การบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management) หมายถึง กระบวนการที่ปฏิบัติโดยคณะกรรมการ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนในองค์กรเพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์และดำเนินงาน ซึ่งกระบวนการบริหารความเสี่ยงได้รับการออกแบบไว้ ให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อองค์กร และสามารถจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับ เพื่อให้ได้รับความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไว้

วัตถุประสงค์องค์กรตามแผนที่วางไว้ นิยาม การควบคุมภายใน วัตถุประสงค์องค์กรตามแผนที่วางไว้ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป็นไปตามระเบียบ เชื่อถือได้ ความเสี่ยง แผนการปฏิบัติงาน การควบคุมภายใน

นิยาม การกำกับกิจการที่ดี การกำกับกิจการที่ดี หรือ บรรษัทภิบาล (Corporate Good Governance) ตามคำนิยามตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระบบที่จัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันนำไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นระยะยาวโดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่น

ความเชื่อมโยงระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน

ความเชื่อมโยงระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ในปัจจุบันทุกองค์กรล้วนมีความเสี่ยง ขึ้นอยู่กับว่าองค์กรสามารถยอมรับความเสี่ยงได้มากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับผู้บริหารที่สามารถวางกลยุทธ์ในการบริหารงานขององค์กร ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลดีหรือผลเสียก็ได้ ซึ่งเป็นเรื่องที่ท้าทายสำหรับผู้บริหารที่จะหาโอกาสให้เป็นประโยชน์จากการวางกลยุทธ์ และกำหนดความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

จุดเริ่มต้นการควบคุมภายใน หน่วยงาน National Commission on Fraudulent Financial Reporting ก่อตั้งในปี 1985 โดยนาย James C. Treadway, Jr. Treadway Commission ก่อตั้งในฐานะเป็นหน่วยงานเอกชน เพื่อให้คำแนะนำในการตรวจสอบ วิเคราะห์ รายงานทางการเงินของบริษัท คำแนะนำของ Treadway บริษัทเอกชนทุกบริษัทควรจะมีการควบคุมภายใน (internal control) เพื่อให้แน่ใจว่ารายงานทางการเงินที่มีข้อสงสัยจะถูกตรวจสอบตั้งแต่เริ่มแรก สิ่งนี้คือการควบคุมภายในทางด้านบัญชี (internal accounting control) นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นของบริษัทควรพัฒนาแนวทางการควบคุม (guidance on internal controls)

ที่มาของหน่วยงาน COSO ในปี 1992 คณะกรรมการชุดหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งเป็นคณะกรรมการของสถาบันวิชาชีพ 5 สถาบัน ในสหรัฐอเมริกา อันได้แก่ สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants หรือ AICPA) สมาคมผู้ตรวจสอบภายใน (The Institute of Internal Auditor หรือ IIA) สมาคมผู้บริหารการเงิน (The Financial Executives Institute หรือ FEI) สมาคมนักบัญชีแห่งสหรัฐอเมริกา (The American Accounting Association หรือ AAA) และ สมาคมนักบัญชีเพื่อการบริหาร (Institute of Management Accountants หรือ IMA) ทั้ง 5 สถาบันนี้ได้ร่วมกันศึกษาวิจัย และพัฒนาแนวคิดของการควบคุมภายใน และได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในว่า “การควบคุมภายใน คือ กระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดร่วมกันโดย คณะกรรมการ ผู้บริหารตลอดจนพนักงานขององค์กรทุกระดับชั้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วิธีการหรือการปฏิบัติงานตามที่กำหนดไว้จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม”

ที่มาของหน่วยงาน COSO การล้มละลายของกิจการเอนรอน (Enron) สหรัฐอเมริกา เนื่องจากผู้บริหารฉ้อฉล ทำให้ประเทศสหรัฐได้มีการตรากฎหมาย Sarbanes Oxley Act ในปี 2002 ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ได้ให้ความสำคัญกับ การควบคุมภายใน หน่วยงานต่าง ๆ จึงเห็นถึงความสำคัญของ การควบคุมภายใน และระบบ COSO มากขึ้น

COSO Sponsoring Organizations

COSO ในประเทศไทย พ.ศ. 2535 ประเทศไทยเริ่มนำ COSO มาใช้ในการสร้างระบบการควบคุมภายใน พ.ศ. 2540 นำ COSO มาใช้ในการสร้างระบบควบคุมภายในให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินนำ COSO มาเป็นแนวทางพัฒนาและวางระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

การกำกับกิจการที่ดี + ควบคุมภายใน กลยุทธ์และผลการดำเนินงาน วิวัฒนาการของ COSO การควบคุมภายใน 1995 COSO การกำกับกิจการที่ดี 2004 COSO ERM การกำกับกิจการที่ดี + ควบคุมภายใน 2013 COSO ERM integrated framework ความเสี่ยงด้าน IT 2015 COSO Cyber Age กลยุทธ์และผลการดำเนินงาน ERM integrating with Strategy and Performance

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ COSO ระบบการควบคุมภายใน ประกอบด้วยนโยบายและวิธีปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้นในองค์กร เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่ากิจการจะบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ในเรื่องต่อไปนี้ - ด้านการดำเนินงาน (Operation) โดยมุ่งหมายให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า ด้วยการกำกับการใช้ทรัพยากรทุกประเภทให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายที่ผู้บริหารกำหนดไว้ และให้ปลอดจากการกระทำทุจริตของพนักงาน หรือผู้บริหาร และหากมีความเสียหายเกิดขึ้นก็ช่วยให้ทราบถึงความเสียหายนั้นได้โดยเร็วที่สุด       - ด้านการรายงานทางการเงิน (Financial Reporting) รายงานทางการเงินหรืองบการเงินไม่ว่าจะเป็นรายงานที่ใช้ภายในหรือภายนอกองค์กร ต่างต้องมีความเชื่อถือได้และทันเวลา มีคุณภาพเหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา ตัดสินใจทางธุรกิจของนักบริหาร เจ้าหนี้ ผู้ถือหุ้น และผู้ลงทุนทั่วไป - ด้านการปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎ ระเบียบ และนโยบาย(Compliance with Application Laws and Regulations) การปฏิบัติงานหรือดำเนินธุรกิจให้สอดคล้อง หรือเป็นไปตามบทบัญญัติ ข้อกำหนดของกฎหมาย นโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หรือการดำเนินธุรกิจนั้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดผลเสียหายใดๆ จากการละเว้นการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบเหล่านั้น

COSO ERM 2013 จากวัตถุประสงค์ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าบางครั้งในการจัดการควบคุมภายใน สามารถแยกแยะวัตถุประสงค์ได้ชัดเจน แต่บางกรณีก็มีวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวข้องกัน ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องตัดสินใจว่า จะกำหนดมาตรการการควบคุมภายในเพื่อวัตถุประสงค์อะไร ต้องการเน้นชัดว่าเพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งเพียงอย่างเดียว หรือต้องการจัดให้มีระบบการควบคุมภายในเพื่อวัตถุประสงค์หลายประการที่สัมพันธ์กัน

องค์ประกอบการควบคุมภายในของ COSO เพื่อการควบคุมภายใน

ปิรามิดองค์ประกอบในการควบคุมภายในของ COSO สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) ข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารในองค์กร (Information and Communication) การติดตามและประเมินผล (Monitoring)

สรุปการบริหารความเสี่ยงแบบ COSO ประเภทความเสี่ยง หน่วยงานในองค์กร องค์ประกอบ ในการควบคุมภายใน เพื่อการควบคุมภายใน

แนวคิดพื้นฐานในการบริหารความเสี่ยง ERM เป็นกระบวนการที่ต้องทำอย่างต่อเนื่องทั่วทั้งองค์กร กำหนดขั้นตอนและนำไปใช้โดยบุคลากรทุกระดับในองค์กร ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร นำไปใช้ทั่วทั้งองค์กรทุกระดับ บริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ให้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลไม่ใช่สมบูรณ์ 100 % มุ่งสู่การบรรลุวัตถุประสงค์

การกำกับกิจการที่ดี การกำกับกิจการที่ดี หรือ บรรษัทภิบาล (Corporate Good Governance) ตามคำนิยามตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระบบที่จัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันนำไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นระยะยาวโดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่น

ตัวอย่างหลักการและโครงสร้างองค์กรสำหรับการกำกับกิจการที่ดี ที่มา : บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

ตัวอย่างโครงสร้างองค์กรตามหลักการกำกับกิจการที่ดี

การแบ่งแยกหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหาร           กรรมการถือเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ ในการที่จะต้องกำกับดูแลกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ อยู่ในทำนองคลองธรรม และที่สำคัญที่สุดก็คือ ต้องกำกับดูแลให้กิจการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใสตรวจสอบได้ ในขณะที่ผู้บริหาร หรืออาจจะเรียกกันว่า ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายจัดการ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า management เป็นผู้มีบทบาทและหน้าที่แตกต่างไปจากกรรมการ กล่าวคือ ฝ่ายบริหารมีหน้าที่รับนโยบายของกรรมการมาปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จเป็นรูปธรรม โดยกำหนดกลยุทธร่วมกับกรรมการ หรือกำหนด กลยุทธ์ย่อยเพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธหลัก และนำไปสู่ผลสำเร็จตามที่คาดหมาย

การแบ่งแยกหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหาร           กรรมการไม่มีอำนาจ “สั่งการ” ให้ผู้บริหารต้องทำตามที่กรรมการต้องการ แต่กรรมการมีหน้าที่กำหนดนโยบาย และมอบหมายให้ผู้บริหารทำตามนโยบาย โดยไม่ควรจะกำหนด “วิธีการ” ให้ผู้บริหารต้องปฏิบัติ แต่กรรมการมีอำนาจและหน้าที่ในการ “กำกับดูแล” ให้ฝ่ายบริหารดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายที่ได้มีการกำหนดขึ้น

เหตุผลที่กำหนดการแบ่งแยกบทบาทระหว่างกรรมการและผู้บริหาร หากผู้กำหนดนโยบายเป็นผู้ดำเนินการตามนโยบายเอง รวมทั้งเป็นผู้กำกับดูแลเอง การดำเนินการที่ผิดพลาดไปก็จะไม่มีคนเห็น เพราะทุกคนต่างแข่งกันทำ ไม่มีคนมองมาจากข้างบน (bird eyes’ view) หรือไม่มีคนที่อยู่นอกวงมองเข้ามาในวง ซึ่งจะเห็นชัดกว่าคนที่คลุกวงในทั้งหมด นอกจากนั้น หากผู้กำกับดูแลเกิดมันมือ อยากเป็นผู้สั่งการหรือดำเนินการเอง หากเกิดความผิดพลาดขึ้น ก็ยากที่จะชี้ข้อผิดพลาดของตนเอง ส่วนเรื่องที่เกี่ยวกับการประเมินและกำหนดค่าตอบแทนนั้น การกำหนดให้กรรมการผู้จัดการเป็นผู้ “ให้คุณให้โทษ” แก่ผู้บริหารระดับล่างลงไปนั้น เหตุผลง่าย ๆ ก็คือ ผู้ที่สามารถให้คุณให้โทษได้ ก็จะเป็นผู้สั่งการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องฟังและปฏิบัติตาม หากให้คณะกรรมการเป็นผู้ให้คุณให้โทษแล้ว กรรมการผู้จัดการก็จะกลายเป็นหัวหลักหัวตอ การดำเนินการใด ๆ ภายใต้การสั่งการของกรรมการผู้จัดการก็จะไม่เป็นผล นโยบายที่คณะกรรมการมอบหมายให้ ก็อาจจะไม่ประสบผลสำเร็จ

การบริหารความเสี่ยงองค์กร (COSO ERM) การบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management) ตามคำจำกัดความของ COSO หมายถึง “กระบวนการที่ได้รับอิทธิพลมาจากคณะกรรมการขององค์กร ผู้บริหารและบุคลากรอื่นๆ เป็นกระบวนการที่จะถูกนามาประยุกต์ใช้ในการตั้งกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กร ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถระบุเหตุการณ์อันอาจเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อองค์กร และเพื่อจัดการความเสี่ยงให้อยู่ภายในระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ (risk appetite) ซึ่งจะทาให้เกิดความเชื่อมั่นได้อย่างสมเหตุสมผลเกี่ยวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร”

การบริหารความเสี่ยงองค์กร (COSO ERM) เป็นกระบวนการ (process) ได้รับอิทธิพลจากคน (effected by people) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ (applied in strategy setting) นำไปใช้ปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร (applied across the enterprise) เพื่อระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์กร (to identify potential events) จัดการกับความเสี่ยงให้อยู่ภายในระดับที่องค์กรยอมรับได้ (manage risk to be within its risk appetite) เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อมั่นได้อย่างสมเหตุสมผลว่าสามารถนำทางไปสู่ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ต่างๆ (to provide reasonable assurance regarding the achievement of entity objective)

วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง ERM เพื่อช่วยบริหารโอกาสและควบคุมความเสี่ยง เชิงบวก โอกาส เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น เชิงลบ ความเสี่ยง

วัตถุประสงค์ของ ERM

การประยุกต์ COSO จากการควบคุมภายใน ไปสู่ COSO ERM เพิ่ม วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ (Strategic) ขยาย Control Environment เป็น 2 ส่วน Internal Environment / Objective Setting ขยาย Risk Assessment เป็น 3 ส่วน Event Identification / Risk Assessment / Risk Response

การเปรียบเทียบ COSO ERM กับการบริหารความเสี่ยงแบบดั้งเดิม

การบริหารความเสี่ยงแบบ COSO ERM หน่วยงานในองค์กร ขั้นตอน ในการบริหาร ความเสี่ยง

วัตถุประสงค์ COSO ERM ความเสี่ยงด้านต่างๆ วัตถุประสงค์ของ ERM ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์(Strategic Risks) เกี่ยวกับการกําหนด เป้าหมายในระดับสูงซึ่งต้องเป็นแนวทางเดียวกันและต้อง สนับสนุนวัตถุประสงคขององค์กร ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks) การใช้ทรัพยากรขององค์กร อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ความเสี่ยงด้านการรายงาน (Reporting Risks) รายงานขององค์กรมีความเชื่อถือได้ โดยเน้นทุกรายงานไม่ใช่เฉพาะรายงานทางการเงิน ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ (Compliance Risks) องค์กรได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดหรือกฎหมายที่ใช้บังคับของหน่วยงานภายนอกและขององค์กร

สาเหตุความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านต่างๆ สาเหตุของความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์(Strategic Risks) การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอก การกำหนดกลยุทธ์ที่ไม่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์/วิสัยทัศน์ หรือ กลยุทธ์ที่ขาด การมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสีย การตัดสินใจที่ผิดพลาด ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks) ระบบงาน กระบวนการ เทคโนโลยี บุคลากร ข้อมูล ความเสี่ยงด้านการรายงาน (Reporting Risks) การขาดการจัดหาข้อมูล การวิเคราะห์ การวางแผน การควบคุม และการจัดทำรายงาน รวมทั้ง งบการเงิน ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ (Compliance Risks) ความไม่ชัดเจน ความไม่ทันสมัย หรือ ความไม่ครอบคลุมของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ รวมทั้ง การทำนิติกรรมสัญญา การร่างสัญญาที่ไม่ครอบคลุมการดำเนินงาน

ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง ERM สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) การระบุเหตุการณ์ (Event Identification) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Responses) กิจกรรมควบคุม (Control Activities) สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) การติดตามผลและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

17 หลักการในการบริหารความเสี่ยงของ COSO ERM

สรุปขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง

1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) สภาพแวดล้อมของการควบคุมเป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวกับการสร้างจิตสำนึกและบรรยากาศของการควบคุมภายใน ซึ่งปัจจัยหลายๆ ปัจจัยที่นำมาพิจารณารวมกันส่งผลให้เกิดความมีประสิทธิผลของมาตรการหรือวิธีการควบคุมในองค์กร หรือทำให้มาตรการและวิธีการควบคุมที่ดีขึ้น โดยส่งเสริมให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความจำเป็นของระบบการควบคุมภายในและเน้นการสร้างบรรยากาศโดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้คนขององค์กรเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติตามความรับผิดชอบ ดังนั้น สภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดีจะช่วยให้บุคลากรเข้าใจถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน  ทั้งนี้  ปัจจัยที่แสดงให้เห็นถึงสภาพแวดล้อมของการควบคุมประกอบด้วย ความซื่อสัตย์และจริยธรรม  กล่าวคือ ผู้บริหารควรจัดทำข้อกำหนดด้านจริยธรรมเป็นแนวทางการปฏิบัติ หรือมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน โดยปัจจุบันองค์กรมักจะจัดทำ Code of Conduct หรือหลักในการปฏิบัติงานที่เปรียบเสมือนกฎระเบียบขององค์กร ดังนั้น หากมีการแทรกข้อกำหนดด้านจริยธรรมอันเป็นแนวทางที่ควรปฏิบัติลงไป ก็จะทำให้เกิดความสมบูรณ์ในการนำมาใช้ในทางปฏิบัติมากขึ้น ส่วนในด้านของผู้บริหารก็จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีอย่างสม่ำเสมอ และลดวิธีการหรือแรงจูงใจที่รุนแรง เช่น การไม่กดดันให้พนักงาน ต้อง ปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่สูงเกินจริง  ความรู้ ทักษะ ความสามารถเชิงแข่งขัน กล่าวคือ องค์กรควรมีการกำหนดระดับความรู้และความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานแต่ละอย่าง ต้องกำหนดออกมาเป็นข้อกำหนดด้านพื้นความรู้ทางการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานโดยผลสำเร็จในการประเมินองค์ประกอบด้านนี้สามารถพิจารณาได้จากการจัดทำเอกสารกำหนดลักษณะงาน (Job Description) เพื่อให้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาบรรจุพนักงานให้เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ

1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) - คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการตรวจสอบ กล่าวคือ ฝ่ายบริหารระดับสูงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้างบรรยากาศการควบคุมของกิจการ คณะกรรมการบริษัทเป็นเสมือนตัวแทนผู้ถือหุ้นที่จะแต่งตั้งฝ่ายบริหารระดับสูงและกำกับดูแลการปฏิบัติงานให้บรรลุผลประโยชน์สูงสุดขององค์กร คณะกรรมการตรวจสอบเป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการบริษัทที่ทำหน้าที่ส่งเสริมบรรยากาศของการควบคุม และการตรวจสอบทั้งภายในและการสอบบัญชีให้เป็นไปอย่างอิสระจากฝ่ายบริหาร รวมทั้งความรู้ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน การตั้งคำถามที่ตรงประเด็นและลึกซึ้งเกี่ยวกับงานของฝ่ายบริหาร และติดตามวิเคราะห์คำตอบที่ได้ความถี่และการมีเวลาในการปฏิบัติหน้าที่และประชุม กับผู้บริหารฝ่ายการเงิน บัญชี ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี ความเพียงพอและทันสมัยของสารสนเทศที่จัดให้คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบที่จะติดตามการบรรลุผลของแผนกลยุทธ์ เป้าหมายของฝ่ายบริหารฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และปฏิบัติตามสัญญาที่สำคัญ ความเพียงพอและทันกาลของสารสนเทศที่คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบมีเกี่ยวกับข้อมูลพิเศษ เช่น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้บริหารระดับสูง รายงานการสืบสวนจากสถาบันกำกับดูแล การจ่ายเงินที่ผิดกฎหมาย เป็นต้น - ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร กล่าวคือ องค์ประกอบนี้เป็นสิ่งใหม่ของการบริหาร ซึ่งบางครั้งปรัชญาและสไตล์การทำงานผู้บริหารถูกละทิ้งความสนใจไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง การทำความเข้าใจแนวโน้มทางความคิดขององค์ประกอบนี้ เช่น เป็นผู้บริหารที่กล้าเสี่ยง หรือชอบความระมัดระวัง ความถี่ในการติดตามงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับระดับปฏิบัติการ ทัศนคติของผู้บริหารที่มีต่อการเลือกนโยบายบัญชี ความระมัดระวังในการกำหนดประมาณการทางบัญชี การเปิดเผยข้อมูล และการไม่แสดงข้อมูลที่เป็นเท็จ รวมทั้งการส่งเสริมในงานบัญชี การพัฒนาความรู้ของฝ่ายบัญชี เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่ทำให้สามารถทราบทิศทางองค์กรได้ว่าจะถูกวางอยู่ในจุดใดหรือมีความเสี่ยงอย่างไรบ้าง - โครงสร้างการจัดองค์กร กล่าวคือ โครงสร้างขององค์กรที่ได้รับการจัดไว้ดีย่อมเป็นพื้นฐานสำคัญที่ทำให้ผู้บริหารสามารถวางแผนงาน สั่งการ และควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยการจัดโครงสร้างองค์กรให้เหมาะสมกับลักษณะของธุรกิจนั้น

1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) - การมอบอำนาจและความรับผิดชอบ (Assignment of Authority and responsibility) หมายถึง การมอบอำนาจให้กับผู้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติการ ควรจะต้องมีการกำหนดอย่างชัดเจน โดยในการประเมินองค์ประกอบด้านนี้จะต้องพิจารณาจาก - ความชัดเจนในการระบุความรับผิดชอบและอำนาจในการอนุมัติให้ผู้ปฏิบัติการฝ่ายต่างๆ ในการปฏิบัติงานให้ได้ตามวัตถุประสงค์ - ความเหมาะสมของมาตรฐานการควบคุมและวิธีการควบคุมที่เกี่ยวข้องรวมทั้งเอกสารที่ระบุลักษณะ ความรับผิดชอบในตำแหน่งงาน - ความเหมาะสมของจำนวนพนักงาน ซึ่งจะต้องมีความรู้และทักษะที่เหมาะสมกับปริมาณงานและความซับซ้อนของกิจกรรม รวมทั้งระบบงานที่เกี่ยวข้อง - นโยบายและวิธีบริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ กล่าวคือ ในการบริหารองค์กรมีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นสิ่งสำคัญแก่องค์กรไม่ว่าจะเป็นระบบบริหารเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่องค์กรจะต้องพัฒนาตามยุคสมัยให้ทันแต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สำคัญที่สุดขององค์กรที่จะขาดไม่ได้ก็คือ ทรัพยากรมนุษย์ เพราะทรัพยากรมนุษย์ที่ดีเป็นปัจจัยที่ทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง ดังนั้น ฝ่ายบริหารควรกำหนดนโยบายและวิธีบริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ เช่น การว่าจ้าง การคัดเลือกบุคลากร และเมื่อได้บุคลากรที่เหมาะสมแล้ว ก็ต้องมีนโยบายในการจูงใจและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถที่ทันสมัยตามทันเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การประเมินองค์ประกอบนี้ เช่น นโยบายและวิธีปฏิบัติในส่วนที่เกี่ยวกับการคัดเลือก การฝึกอบรม การเลื่อนตำแหน่ง และการจ่ายผลตอบแทน ความเหมาะสมของวิธีการที่ใช้เมื่อพบความประพฤติที่แตกต่างจากนโยบายและวิธีปฏิบัติที่กำหนด เช่น มีบทลงโทษ ความเหมาะสมในการใช้นโยบายการเลื่อนตำแหน่งและความดีความชอบ - การตรวจสอบภายใน กล่าวคือ การตรวจสอบภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายในและเป็นเครื่องมือทางการบริหารที่ทำให้สภาพแวดล้อมของการควบคุมมีคุณภาพ ผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความอิสระเพียงพอที่จะรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลให้แก่ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงานที่ได้รับการตรวจสอบและประเมินผลทั้งนี้ผู้ตรวจสอบภายในควรได้รับการสนับสนุนอย่างเหมาะสมจากผู้บริหาร

1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) หลักการที่ 1 – องค์กรยึดหลักความซื่อตรงและจริยธรรม 1.1)       แสดงให้เห็นโดยผ่านคำสั่ง การกระทำ พฤติกรรม 1.2)       จัดทำมาตรฐานของจรรยาบรรณ 1.3)       ประเมินการยึดมั่นในมาตรฐานของจรรยาบรรณ 1.4)       รายงานการเบี่ยงเบนในเวลาที่เหมาะสม      หลักการที่ 2 – คณะกรรมการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อการกำกับดูแล  2.1)    กำหนดความรับผิดชอบในการกำกับดูแล  2.2)    กรรมการบริษัทมีความรู้ความชำนาญที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ  2.3)    ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ จากฝ่ายบริหาร  2.4)    กำกับดูแลในเรื่องสภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร และการติดตามประเมินผล      หลักการที่ 3 - คณะกรรมการและฝ่ายบริหาร มีอำนาจการสั่งการชัดเจน  3.1)   พิจารณาโครงสร้างทั้งหมดของกิจการ  3.2)   กำหนดสายการรายงาน  3.3)   กำหนด มอบหมาย และจำกัดขอบเขตของอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)      หลักการที่ 4 - องค์กร จูงใจ รักษาไว้ และจูงใจพนักงาน  4.1)   วางนโยบายและวิธีปฎิบัติเกี่ยวกับการบริหารบุคลากร  4.2)   ประเมินความสามารถรายบุคคลและระบุส่วนที่ยังขาดอยู่เพื่อปรับปรุงแก้ไข  4.3)   จูงใจ พัฒนาและรักษาบุคคลากร  4.4)   วางแผนและเตรียมสรรหาผู้สืบทอดตำแหน่ง (Succession)      หลักการที่ 5 – องค์กรผลักดันให้ทุกตำแหน่งรับผิดชอบต่อการควบคุมภายใน  5.1)   บังคับให้มีความรับผิดชอบต่อการควบคุมภายในผ่านโครงสร้างองค์กร อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ  5.2)   กำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน การสร้างแรงจูงใจและการให้รางวัล  5.3)   ประเมินตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน สิ่งจูงใจ และรางวัลอย่างต่อเนื่อง  5.4)   พิจารณาความกดดันในการทำงานที่มากเกินไป  5.5)   ประเมินผลกาปฏิบัติงาน การให้รางวัล และการลงโทษพนักงานเป็นรายบุคคล

2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) องค์กรต้องกาหนดวัตถุประสงค์ / เป้าหมายการดาเนินธุรกิจ ก่อนที่จะระบุเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ /เป้าหมายนั้นๆ วัตถุประสงค์ต้องสอดรับกับการยอมรับในความเสี่ยง (Risk Appetite)

วิธีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ดี Specific (เฉพาะเจาะจง) มีความชัดเจนและกาหนดผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ที่ต้องการที่ทุกคนสามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน Measurable (สามารถวัดได้) สามารถวัดผลการบรรลุวัตถุประสงค์ได้ Achievable (สามารถบรรลุผลได้) มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เงื่อนไขการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบัน Relevant (มีความเกี่ยวข้อง) มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายในการดาเนินงานขององค์กร Timeliness (มีกาหนดเวลา) สามารถกาหนดระยะเวลาที่ต้องการบรรลุผล

2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) หลักการที่ 6 – กำหนดเป้าหมายชัดเจน 6.1) องค์กรปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป 6.2) องค์กรกำหนดสาระสำคัญของรายงานทางการเงิน 6.3) รายงานทางการเงินสะท้อนถึงกิจกรรมขององค์กร 6.4) คณะกรรมการอนุมัติและสื่อสารนโยบายบริหารความเสี่ยงให้ผู้บริหารและพนักงานรับทราบ และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร หลักการที่ 7 – ระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงอย่างครอบคลุม 7.1) ระบุความเสี่ยงทุกประเภท ทั้งระดับ องค์กร ฝ่ายงาน 7.2) วิเคราะห์ความเสี่ยงทั้งปัจจัยภายใน/ภายนอก 7.3) ให้ผู้บริหารทุกระดับมีส่วนร่วม 7.4) ประเมินนัยสำคัญของความเสี่ยงที่ระบุ 7.5) กำหนดว่าจะตอบสนองความเสี่ยงอย่างไร

2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) หลักการที่ 8 – พิจารณาโอกาสที่จะเกิดการทุจริต 8.1) ประเมินโอกาสที่จะเกิดการทุจริตประเภทต่างๆ 8.2) ทบทวนเป้าหมาย แรงจูงใจและแรงกดดัน 8.3) คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและสอบถามผู้บริหารเกี่ยวกับโอกาสเกิดทุจริต และมาตรการป้องกัน 8.4) บริษัทได้สื่อสารให้พนักงานปฏิบัติตามนโยบาย หลักการที่ 9 – ระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงที่จะกระทบต่อการควบคุมภายใน 9.1) ประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายนอก 9.2) ประเมินการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำธุรกิจ 9.3) ประเมินการเปลี่ยนแปลงผู้นำองค์กร

3. การระบุเหตุการณ์ (Event Identification) เป็นการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยงหรือความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก

3. การระบุเหตุการณ์ (Event Identification) หลักการที่ 10 – ควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 10.1) การควบคุมเหมาะสมกับความเสี่ยง และลักษณะเฉพาะขององค์กร สภาพแวดล้อม ลักษณะของงาน 10.2) มีมาตรการการควบคุมภายในที่กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น นโยบาย คู่มือ ระเบียบ 10.3) กำหนดกิจกรรมควบคุมให้มีความหลากหลายอย่างเหมาะสมการผสมผสานของกิจกรรมการควบคุมหลายๆประเภท 10.4) กำหนดให้มีการควบคุมทุกระดับขององค์กร 10.5) มีการแบ่งแยกหน้าที่ ผู้อนุมัติ ผู้บันทึก ผู้ดูแลเก็บรักษา หลักการที่ 11 – พัฒนาระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการควบคุม 11.1) กำหนดความเกี่ยวข้องกันของการใช้ IT ในกระบวนการธุรกิจกับการควบคุมทั่วไปทางด้าน ITให้เหมาะสม 11.2) กำหนดกิจกรรมการควบคุมด้านโครงสร้างพื้นฐานให้เหมาะสม 11.3) กำหนดกิจกรรมการควบคุมด้านความปลอดภัยให้เหมาะสม 11.4) กำหนดกิจกรรมการควบคุมด้านการจัดหา การพัฒนา และดูแลรักษาระบบ

3. การระบุเหตุการณ์ (Event Identification) หลักการที่ 12 – ควบคุมให้นโยบายสามารถปฏิบัติได้ 12.1) มีนโยบายที่รัดกุมเพื่อติดตามการทำธุรกรรมของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร 12.2) มีนโยบายเพื่อให้การอนุมัติการทำธุรกรรมกระทำโดยผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสีย 12.3) มีนโยบายเพื่อให้การอนุมัติธุรกรรมคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท เสมือนเป็นรายการที่ทำกับบุคคลภายนอก(at arms’ length basis) 12.4) มีกระบวนการติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม 12.5) กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการนำนโยบายไปปฏิบัติ 12.6) นโยบายและกระบวนการปฏิบัติได้รับการนำไปใช้ในเวลาที่เหมาะสม 12.7) ทบทวนนโยบายและกระบวนการทำงานให้เหมาะสมอยู่เสมอ

4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) การประเมินความเสี่ยงซึ่งจัดได้ว่าเป็นเครื่องมือในการบริหารอย่างหนึ่งที่ผู้บริหารนิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากในปัจจุบันเป็นยุคการค้าที่มีการแข่งขันอย่างเสรี ซึ่งมีคู่แข่งมากมายที่กำลังต่อสู้กับองค์กร ดังนั้น ความเสี่ยงจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการประเมินความเสี่ยงนั้น เป็นกระบวนการที่ทำให้กิจการขององค์กรทราบถึงความเสี่ยงที่กำลังจะเผชิญล่วงหน้าได้ เมื่อทราบถึงความเสี่ยงแล้วก็สามารถที่จะบริหารความเสี่ยงเพื่อเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส และเพื่อลดผลกระทบความเสียหายที่จะเกิดขึ้นได้เนื่องจากเป็นการค้ายุคการแข่งขันเสรีที่มีความเสี่ยงสูง และต้องเตรียมความพร้อมในทุกสภาวการณ์ การประเมินความเสี่ยงจะทำให้ฝ่ายบริหารได้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยแบ่งได้เป็น - ปัจจัยเสี่ยงระดับกิจการอาจเกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในกิจการ โดยปัจจัยเสี่ยงภายนอก เป็นปัจจัยที่เกิดจากภายนอกที่กิจการควบคุมไม่ได้ ซึ่งผู้บริหารต้องติดตามศึกษาเพื่อหาวิธีปฏิบัติในการเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส หรือลดผลเสียหายที่จะเกิดขึ้น ส่วนปัจจัยเสี่ยงภายใน เป็นปัจจัยที่เกิดจากภายในองค์กรที่ผู้บริหารสามารถจัดการได้ ซึ่งสามารถยกตัวอย่างของปัจจัยภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ความต้องการและความมุ่งหวังของลูกค้าที่มีต่อสินค้าหรือบริการ กฎหมายและข้อกำหนดต่างๆ ของภาครัฐ และตัวอย่างของปัจจัยภายใน เช่น ความซื่อสัตย์และจริยธรรมของผู้บริหาร ความสลับซับซ้อนของการปฏิบัติงาน ขวัญและกำลังใจของพนักงานในการปฏิบัติงาน ขนาดของหน่วยงาน โดยหน่วยงานใหญ่ย่อมมีโอกาสผิดพลาดสูงกว่าหน่วยงานเล็ก - ปัจจัยเสี่ยงระดับกิจกรรมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดในหน่วยงานสาขา แผนงาน โครงการ และกระบวนการปฏิบัติงานที่สำคัญ เช่น การจัดหา การตลาด เป็นต้น

4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หลังจากระบุปัจจัยเสี่ยงแล้ว ขั้นต่อมาที่สำคัญก็คือ การวิเคราะห์และจัดระดับความเสี่ยง หากปัจจัยเสี่ยงใดสามารถคำนวณจำนวนที่อาจเกิดขึ้นได้โดยตรงในเชิงปริมาณ เช่น การใช้สูตรคำนวณจำนวนค่าความเสียหาย ก็ให้ประเมินและจัดระดับความเสี่ยงไปตามความสำคัญของจำนวนที่คำนวณได้ หากการวิเคราะห์และจัดระดับความเสี่ยงโดยใช้สูตรคำนวณเป็นไปได้ยาก อาจต้องใช้วิธีการให้คะแนนเชิงเปรียบเทียบแทน เช่น การให้ระดับ 1-3 โดย 1 = ไม่พอใจ 2 = ปานกลาง และ 3 = พอใจ เป็นต้น หลังจากนั้นผู้บริหารควรกำหนดวิธีการบริหารความเสี่ยง และตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรม ควบคุมภายในที่จำเป็นเพื่อลดหรือบรรเทาความเสี่ยงเหล่านั้นและเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดำเนินงาน รายงานทางการเงินและการดำเนินงานเป็นที่น่าเชื่อถือ และการปฏิบัติที่เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ ผู้บริหารระดับส่วนงาน หรือผู้ประเมินควรจะต้องเน้นการให้ความสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหาร ในการกำหนดวัตถุประสงค์การระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยงในช่วงของการเปลี่ยนแปลง และบางเรื่องมีลักษณะเป็นนามธรรมซึ่งต้องใช้ดุลยพินิจ แต่เรื่องเหล่านี้มีความสำคัญในการใช้ประเมินความเสี่ยงว่าเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ ซึ่งการบริหารความเสี่ยงนั้น COSO ได้กำหนดวิธีการตอบสนองความเสี่ยงไว้พอสรุปได้ดังนี้ 1) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) หมายถึงการเลิกหรือหลีกเลี่ยงการกระทำเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง เช่น การกระทำงานที่องค์กรไม่ถนัด อาจหลีกเลี่ยงโดยการไม่กระทำ หรือจ้างบุคคลภายนอก เป็นต้น 2) การลดความเสี่ยง (Risk Reduction) หมายถึงการลดโอกาสความน่าจะเกิดหรือการลดความเสียหาย หรือการลดทั้งสองด้านพร้อมกัน การลดความเสี่ยงที่สำคัญคือ การจัดระบบการควบคุมเพื่อป้องกัน หรือค้นพบความเสี่ยงเฉพาะวัตถุประสงค์นั้นอย่างเหมาะสมทันกาลมากขึ้นรวมถึงการกำหนดแผนสำรองในกรณีมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน 3) การแบ่งความเสี่ยง (Risk Sharing) หมายถึงการลดโอกาสความน่าจะเกิดหรือการลดความเสียหาย โดยการแบ่ง การโอน การหาผู้รับผิดชอบร่วมในความเสี่ยง เช่น การจัดประกันภัย 4) การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) หมายถึงการไม่กระทำการใดๆ เพิ่มเติมกรณีนี้ใช้กับความเสี่ยงที่มีสาระสำคัญน้อย ความเสี่ยงน่าจะเกิดน้อย หรือเห็นว่ามีต้นทุนในการบริหารความเสี่ยงสูงกว่าผลที่ได้รับ

4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หลักการที่ 13 – องค์กรมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องและมีคุณภาพ 13.1) ระบุสารสนเทศที่ต้องการใช้ในการดำเนินงาน 13.2) พิจารณา ต้นทุน ประโยชน์ รวมทั้งปริมาณและความถูกต้องของข้อมูล 13.3) ดำเนินการเพื่อให้กรรมการมีข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจ 13.4) ดำเนินการเพื่อให้กรรมการได้รับหนังสือเชิญประชุมและเอกสารล่วงหน้าก่อนการประชุมตามที่กฎหมายกำหนด 13.5) ดำเนินการเพื่อให้รายงานการประชุมมีรายละเอียดสามารถสอบย้อนได้ 13.6) องค์กรมีการดำเนินการดังนี้ เก็บเอกสารเป็นระบบ แก้ไขข้อบกพร่องการควบคุม ตามความเห็นผู้สอบ หลักการที่14 - มีการสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร ให้การควบคุมภายในดำเนินต่อไปได้ 14.1) มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ มีช่องทางที่เหมาะสม 14.2) มีการรายงานข้อมูลที่สำคัญถึงกรรมการอย่างสม่ำเสมอ 14.3) จัดให้มีช่องทางสื่อสารลับเพื่อแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต หลักการที่ 15 - มีการสื่อสารกับหน่วยงานภายนอก ในประเด็นที่อาจกระทบต่อการควบคุมภายใน 15.1) สื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ มีช่องทางที่เหมาะสม 15.2) มีช่องทางสื่อสารลับ สำหรับผู้มีส่วนได้เสียภายนอก แจ้งเบาะแสการทุจริต

ตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

ตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

ตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

ตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

5. การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Responses) การคัดเลือกทางเลือกที่เหมาะสมกับการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โดยจะต้องเลือกทางเลือกที่คาดว่าจะสามารถทาให้โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้

แนวทางการตอบสนองต่อความเสี่ยง

การตอบสนองต่อความเสี่ยง (การจัดการความเสี่ยง) การตอบสนอง (การจัดการ) ความเสี่ยง (Risk Response) มี 4 แนวทางหลัก การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Avoidance/Terminate) ไม่ทา /เลิกกิจกรรมนั้น การยอมรับความเสี่ยง (Acceptance /Take) ) อาจเป็นเพราะระดับ ความเสี่ยงต่ามากจนไม่คุ้ม หรือสูงเกินไปเสียจนไม่มีหนทางที่จะจัดการกับความเสี่ยงนั้น การลดความเสี่ยง (Reduction/Treat) อาจลดโอกาส หรือผลกระทบ หรือลดทั้ง 2 อย่าง การโอนหรือกระจายความเสี่ยง (Sharing/Transfer) อาจลดโอกาส หรือผลกระทบ โดยการโอนความเสี่ยง (ทาประกัน) หรือแชร์บางส่วนของความเสี่ยง หรือการ Outsourcing

การตอบสนองต่อความเสี่ยง (การจัดการความเสี่ยง)

5. การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Responses) หลักการที่ 16 - ติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน 16.1) จัดให้มีการติดตามการปฏิบัติตามจริยธรรมธุรกิจและข้อกำหนด ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 16.2) จัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ โดยการประเมินตนเอง และ/หรือการประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน 16.3) ความถี่การติดตามและประเมินผล มีความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของบริษัท 16.4) ติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน โดยผู้มีความรู้ความสามารถ 16.5) กำหนดแนวทางการรายงานผลการตรวจสอบภายใน ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 16.6) ส่งเสริมให้ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานสากล การปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน หลักการที่ 17 - ประเมินและสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในทันเวลา และเหมาะสม 17.1) ประเมินผลและสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายใน และดำเนินการแก้ไขอย่างทันท่วงที 17.2) รายงานต่อคณะกรรมการบริษัททันทีที่เกิดเหตุการณ์ทุจริตร้ายแรง การฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระทำที่ผิดปกติ ซึ่งกระทบชื่อเสียงและฐานะการเงินบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ 17.3) รายงานข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญ พร้อมแนวทางแก้ไข ต่อคณะกรรมการบริษัท/คณะกรรมการตรวจสอบ ในเวลาอันคว

การติดตามผลของมาตรการบริหารความเสี่ยง

6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) “กิจกรรมการควบคุม” หมายถึง นโยบายและวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรขององค์กรปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติตาม ในการดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมการควบคุม ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหาย ความผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นและให้สามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน สาหรับกิจกรรมการควบคุมในเบื้องต้นจะต้องแบ่งแยกหน้าที่งานภายในองค์กรอย่างเหมาะสม ไม่มอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานที่สาคัญหรืองานที่เสี่ยงต่อความเสียหายตั้งแต่ต้นจนจบ แต่ถ้ามีความจำเป็นให้กำหนดกิจกรรมการควบคุมอื่นที่เหมาะสมทดแทน

6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุมประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆที่สาคัญ คือ การกาหนดนโยบายและแผนงาน (Policies and Plans) การสอบทานโดยผู้บริหาร (Management Review) การประมวลผลข้อมูล (Information Processing) การควบคุมทางกายภาพ (Physical Control) การมอบอานาจที่เหมาะสม (Appropriate Empowerment) การแบ่งแยกหน้าที่ (Segregation of Duties) ดัชนีวัดผลการดาเนินงาน (Performance Indicators) การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation) การตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่างอิสระ (Independent Checks on Performance) การกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงสินทรัพย์ (Accessing Rights)

ตัวอย่างแบบฟอร์มการตรวจสอบกิจกรรมควบคุม

ตัวอย่างแบบฟอร์มการตรวจสอบกิจกรรมควบคุม

7. ข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารในองค์กร  (Information and Communication) 

7. ข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารในองค์กร  (Information and Communication) 

8. การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) การควบคุมภายในขององค์กรจะสมบูรณ์ไม่ได้หากขาดการติดตามและประเมินผล เพราะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ผู้บริหารมั่นใจได้ว่า มาตรการและระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิผลและได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา - การติดตามผลระหว่างการดำเนินงาน (On Going Monitoring) หมายถึง การสังเกต การติดตาม ระบบรายงานความคืบหน้าของงาน รวมทั้งการสอบทานหรือการยืนยันผลงานระหว่างการปฏิบัติงาน - การประเมินผลอิสระ (Independent Evaluation) เป็นการประเมินผลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แล้วแต่จะกำหนด หรือการประเมินอิสระอาจหมายถึง การประเมินโดยผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกำหนดระบบควบคุมภายใน เพื่อให้สามารถแสดงความเห็นได้อย่างเป็นอิสระ เช่น การประเมินจากผู้ตรวจสอบภายใน เป็นต้น - การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) เป็นการจัดประชุมเชิงปฏิบัติร่วมกัน ระหว่างผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้มีความรู้ด้านการควบคุม และผู้อื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดกิจกรรมควบคุมและประเมินผลร่วมกัน ในด้านที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินงานนั้น การรายงานผลการประเมินและการสั่งการแก้ไข ต้องจัดทำรายงานผลการประเมินที่สำคัญเสนอผู้บริหารที่รับผิดชอบ เช่น การจัดทำรายงานแสดงผลความคลาดเคลื่อนของการดำเนินงานเป็นระยะๆ

ตัวอย่างแบบฟอร์มการติดตามความเสี่ยง

สรุปตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

สรุปตัวอย่างเครื่องมือช่วยสนับสนุนการดำเนินงานตามองค์ประกอบของความเสี่ยง

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

การควบรวมการบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน 2013 COSO Integration Framework Committee of Sponsoring Organizations (COSO) and The Institute of Internal Auditors, Inc. (IIIA) ได้ร่วมกันพัฒนา The COSO Internal Control – Integrated Framework ในปี 2013 เพื่อให้หน่วยงานมีโครงสร้างการบริหารงานในลักษณะที่มี ธรรมาภิบาลที่ดี (Good Governance) โดยกำหนดแนวทางในการระบุบทบาทหน้าที่ โดยคำนึงถึงการควบคุมภายในเข้าด้วยกัน ตามหลักการ Three Line of Defense (3LOD)

โครงสร้างหน่วยงานที่มี Good Governance Good Governance คือ โครงสร้างหน่วยงานที่มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Clear Role and Responsibility) ซึ่งแต่ละฝ่ายหรือแผนกจะเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในการควบคุมความเสี่ยง (Risk and Control) และความรับผิดชอบของตน (Accountability) รวมทั้งการทำงานร่วมกับผู้อื่น

หลักการ Three Line of Defense กำหนดให้โครงสร้างของหน่วยงานแบ่งผู้รับผิดชอบการบริหารและควบคุมความเสี่ยง เป็น 3 ระดับ (Three Lines) เพื่อร่วมกันในการบริหารความเสี่ยงและควบคุมให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือนโยบายขององค์กรที่คณะกรรมการกำหนด

หลักการ Three Line of Defense First line of defense : เป็น User หรือหน่วยงานปฏิบัติงาน เราเรียกคนกลุ่มนี้ว่าเป็น Risk Owner หรือเจ้าของความเสี่ยง Second line of defense : กลุ่มนี้เป็นคนที่ทำหน้าที่ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง ทั้ง Compliance และ Risk Management เป็นผู้ที่จัดให้มีการกำหนดนโยบาย และกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง Third line of defense : กลุ่มนี้ คือ Internal Auditor ผู้ตรวจสอบภายใน เป็นผู้ที่ติดตามการดำเนินงาน และผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง

ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมาย และ 3 LOD

3 LOD กับ Compliance Audit คณะกรรมการตรวจสอบ 3 LOD

3 LOD กับ Compliance Audit การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) หมายถึง การพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ต้องมีหลักฐานที่แน่ชัด เพื่อให้ผู้ตรวจสอบสามารถให้ความเห็นในเรื่องนั้นๆ ได้ การกำกับดูแล (Risk and Compliance) เป็นการกำหนดขอบเขต วิธีการปฎิบัติ ซึ่งจะให้เป็นการปฏิบัติตามสิ่งใด สิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใด เรื่องหนึ่ง ทั้งนี้ ต้องทำการติดตามผลว่ามีการปฏิบัติตามขอบเขตที่กำหนดหรือไม่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) หมายถึง การกำหนดนโยบาย ขอบเขต วิธีการปฏิบัติงานในการควบคุมความเสี่ยงด้านต่าง ๆ การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance unit) หมายถึง การกำกับติดตามการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของทางการกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สัญญาที่มีข้อผูกพันตามเพื่อไม่ให้ให้การดำเนินงานของบริษัทมีความเสียหายอันเกิดจากการฝ่าฝืน

3 LOD กับ Compliance Audit

ประโยชน์ในการกำหนด 3 LOD บริษัท PwC สหรัฐอเมริกา เปิดเผยถึงรายงานประจำปี 2016 Risk in review: Managing risk from the front line ที่ทำการสำรวจผู้บริหารมากกว่า 1,500 ราย จาก 30 อุตสาหกรรมชั้นนำในกว่า 80 ประเทศทั่วโลกว่า องค์กรที่มีการบริหารจัดการและควบคุมความเสี่ยงที่ขับเคลื่อนโดยผู้บริหารระดับสูงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการบริหารความเสี่ยงเป็นด่านแรก (Front liners) มีโอกาสในการสร้างรายได้และกำไรมากกว่าองค์กรที่ละเลยหรือไม่ได้มีการบริหารความเสี่ยงในรูปแบบดังกล่าว ซึ่งแนวคิดดังกล่าว ได้ถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงมาอย่างต่อเนื่องหลังจากวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นเมื่อปี 2551 โดยรายงานระบุว่า ในอดีตการบริหารความเสี่ยงมักถูกจัดการโดยปราการด่านที่ 2 ขององค์กร (Second line of defense) นั่นคือ หน่วยงานความเสี่ยงและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ อย่างไรก็ดี รายงานของ PwC พบว่า มีผู้ถูกสำรวจเพียง 13% เท่านั้นที่องค์กรมีการบริหารความเสี่ยงจากปราการด่านแรก

ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนให้เกิด 3 LOD ในหน่วยงาน “กุญแจสำคัญที่ช่วยผลักดันให้องค์กรเติบโตไม่ใช่ความสามารถในการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง แต่คือ การที่ผู้นำองค์กรต้องทำให้เรื่องของการบริหารความเสี่ยงเป็นคำสั่งและแนวทางที่ทุกภาคส่วนจะต้องนำไปปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็น กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และที่สำคัญที่สุด กลุ่มผู้มีอำนาจในการตัดสินใจในแต่ละฝ่าย” ผลสำรวจในปีนี้บอกเราว่า ผู้นำองค์กรควรเป็นแกนหลักในการบริหารความเสี่ยง และทำให้หน่วยงานบริหารความเสี่ยงเป็นหน่วยงานที่มีการทำงานร่วมกัน อีกทั้งมีการวัดผล ควบคู่ไปกับการวางกลยุทธ์ขององค์กร นอกจากนี้ เรายังเห็นการปรับแนวทางในการบริหารความเสี่ยงเพื่อรับกับปัจจัยเสี่ยงใหม่ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น เช่น การรักษาความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ แต่การขาดความพร้อมในการรับมือและวางแผนยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ผู้บริหารส่วนใหญ่ยังต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบัน

ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนให้เกิด 3 LOD ในหน่วยงาน รายงานของ PwC ยังพบว่า บริษัทที่มีการบริหารจัดการและควบคุมความเสี่ยงที่นำโดยผู้บริหารและหน่วยธุรกิจตั้งแต่ปราการด่านแรก มีแนวโน้มที่จะบริหารความเสี่ยงในเรื่องอื่นๆได้ดีกว่าบริษัทที่ไม่มีการบริหารความเสี่ยงในรูปแบบดังกล่าวโดยครอบคลุม 12 ด้าน ได้แก่ การเงิน การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ผลประกอบการและความผันผวนของราคา การปฏิบัติการ ชื่อเสียง กลยุทธ์ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ เทคโนโลยี การบริหารทรัพยากรบุคคล บุคคลที่สามซึ่งเป็นผู้ค้าและคู่ค้าทางธุรกิจของบริษัท และวัฒนธรรมองค์กรและแรงจูงใจ ยกตัวอย่าง เช่น ในการสำรวจบริษัทที่ได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ พบว่า 63% ของบริษัทที่มีการบริหารจัดการและควบคุมความเสี่ยงตั้งแต่ปราการด่านแรก สามารถกอบกู้สถานการณ์ให้กลับสู่สภาวะปกติได้รวดเร็วและมีประสิทธิภากว่า เปรียบเทียบกับ 46% ของผู้ตอบแบบสอบถามในกลุ่มอื่น

5 ขั้นตอนเพื่อสร้างแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยงภายในองค์กร ที่มีแบบแผนและมีการวัดผลได้ นำโดยผู้บริหารและกรรมการบริษัท กำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ขององค์กร โดยให้อำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ที่มีความรับผิดชอบในแต่ละฝ่ายงาน  และมั่นใจได้ว่าการบริหารความเสี่ยงถูกผนวกอยู่ในแผนกลยุทธ์และยุทธวิธีในการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ปรับรูปแบบการบริหารความเสี่ยงขององค์กรทั้ง 3 ด่าน โดยให้ผู้รับผิดชอบหรือหน่วยงานที่เป็นเจ้าของความเสี่ยงมีอำนาจในการตัดสินใจในด่านแรก ขณะที่ด่านที่สอง หรือ หน่วยงานความเสี่ยงและการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ทำหน้าที่ควบคุม ดูแลปราการด่านแรก สำหรับผู้รับผิดชอบด่านที่สาม (Third line) หรือ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่กำกับและประเมินผลการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นอิสระให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ กำหนดกรอบการบริหารความเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ขององค์กร รวมทั้งสื่อสารไปยังทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้มีอำนาจในการตัดสินใจของแต่ละฝ่ายงานทั่วทั้งองค์กร พัฒนาและปรับปรุงวิธีการรายงานความเสี่ยง เพราะการติดตามความเสี่ยงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้องค์กรสามารถตัดสินใจในด้านต่างๆ ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่อยู่ในเกณฑ์ที่องค์กรยอมรับได้

รายละเอียด Three Line of Defense

Three Line of Defense Model โครงสร้างองค์กรที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายในการบริหารความเสี่ยง 3 LOD

Three Line of Defense Model ถ้าหน่วยงานมีโครงสร้างองค์กรที่รองรับ 3 LOD แล้ว ไม่มีการซับซ้อนในบทบาทหน้าที่ในการบริหารและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมมีการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการและผู้บริหารจะมีโอกาสเพิ่มขึ้นในการได้รับข้อมูลที่ไม่มีอคติ (unbiased information) เกี่ยวกับความเสี่ยงที่สำคัญขององค์กร

หลักการที่ซ่อนไว้ใน 3 LOD First Line of Defense เป็นผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งถือเป็นRisk Owner ที่ต้องกำหนดแนวทางบริหารความเสี่ยงและควบคุมความเสี่ยงเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์องค์กร Second Line of Defense เป็นสนับสนุนผู้บริหาร (Support Management)โดยการใช้ความเชี่ยวชาญ กระบวนการ และการบริหารในการติดตาม First Line เพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงและการควบคุมมีการบริหารที่ดี โดยหลักแล้ว Second Line ควรมีอิสระจาก First Line แต่ยังอยู่ภายใต้การดูแลผู้บริหารองค์กร Third Line of Defense เป็นผู้ที่ทำให้ผู้บริหารและคณะกรรมการมั่นใจว่าความพยายามในการบริหารความเสี่ยงของ First และ Second Line อยู่ในระดับที่คาดหวัง Third Line เป็น Assurance ไม่ใช่ Management และแยกจาก Second Line โดยรายงานตรงต่อคณะกรรมการ

บทบาทในการกำกับดูแลของคณะกรรมการกับผู้บริหารใน 3LOD คณะกรรมการและผู้บริหารต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ที่สำคัญของตนเอง ที่มีต่อควบคุมและติดตามการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

1st Line of Defense

หน่วยงานภายใต้ Second Line จะแตกต่างกันตามลักษณะขององค์กร 2nd Line of Defense หน่วยงานภายใต้ Second Line จะแตกต่างกันตามลักษณะขององค์กร

หน่วยงาน Second Line หน่วยงานภายใต้ Second Line จะแตกต่างกันตามลักษณะขององค์กร หน่วยงานภายใต้ Second Line จะทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงซึ่งจะต้องไปเกี่ยวข้องกับ First Line แต่ไม่เป็นผู้ปฏิบัติงานใน First Line และอิสระจาก First Line

บทบาทหน้าที่ของ Second Line สนับสนุนผู้บริหารในการกำหนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงและพัฒนากระบวนการบริหารและควบคุมความเสี่ยง กำหนดกระบวนการติดตามและวัดผลความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง ซึ่งแยกจากการปฏิบัติงานประจำวัน ติดตามความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพในกระบวนการควบคุมภายใน นำเสนอความเสี่ยงที่สำคัญที่ปรากฏขึ้นต่อผู้บริหาร กำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ กำหนดแนวทางและการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง

3rd Line of Defense การตรวจสอบภายใน จะสนับสนุนการกำหนด แนวทางที่มีวินัยและเป็นระบบ เพื่อที่จะประเมินและปรับปรุง ประสิทธิภาพของ กระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และธรรมภิบาล

สรุปแต่ละบทบาทของ 3LOD ผู้ตรวจสอบนอก (External Auditor) และผู้กำกับดูแล (Regulator) จะเป็นผู้ประเมินหารควบคุมรายงานทางการเงินและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับรายงานทางการเงิน

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

3 LOD กับ 17 หลักการ

ตัวอย่าง 3LOD Operating Model - Earn & Young (EY)

ตัวอย่าง 3LOD Operating Model - Earn & Young (EY)

ตัวอย่าง 3LOD Operating Model - Earn & Young (EY)

ตัวอย่าง 3LOD Operating Model - Earn & Young (EY)

ตัวอย่างขั้นตอน Earn & Young (EY) 1. เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อเข้าใจ risk appetite จากคณะกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน และภายนอก 2. สร้างความเสี่ยงที่ต้องครอบคลุม และเชื่อมโยงไปสู่แต่ละ Line 3. วิเคราะห์ความเพียงพอของการควบคุมความเสี่ยง 4. ดำเนินการตาม แผนการปรับปรุง 5. ทบทวนและติดตาม LOD Model

ตัวอย่างแนวทางการบริหารความเสี่ยง Earn & Young (EY)

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

โลกธุรกิจยุค Cyber ระบบข้อมูล (Information System) คือ ระบบที่เกี่ยวข้องกับคน กระบวนการ ข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยี ปัจจุบัน Information Technology (IT) ได้เข้ามามีบทบาทต่อการทำธุรกิจขององค์กรเป็นอย่างมาก และมีส่วนสำคัญต่อการทำธุรกิจทั่วโลกขององค์กร IT ถือเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ช่วยให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย ดังนั้น ปัจจุบันจึงเริ่มให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงจาก IT

17 หลักการในการควบคุมภายใน

สภาพแวดล้อมในการควบคุมความเสี่ยงด้าน IT

COSO – Cyber Risk Assessment การประเมินความเสี่ยงตามแนวทาง COSO จะทำให้คณะกรรมการและผู้บริหารตระหนักว่าความเสี่ยงด้าน IT จุดใดต้องระมัดระวัง และควรได้รับการป้องกัน โดยเฉพาะธุรกิจที่เปลี่ยนวิธีการดำเนินการธุรกิจจากคนสู่ระบบ IT เช่น internet banking ยิ่งต้องให้ความสำคัญในการประเมินความเสี่ยงอย่างยิ่ง

ตัวอย่าง COSO – Cyber Risk Assessment

COSO – การระบุกิจกรรมที่จะควบคุม Cyber Risk

COSO – การสื่อสาร คุณภาพข้อมูลที่จะบริหารและควบคุม Cyber Risk

การควบคุมสภาพแวดล้อมและกิจกรรมการบริหารและ ติดตาม Cyber Risk การดำเนินธุรกิจผ่านทางระบบ IT จะทำให้สภาพแวดล้อมและกิจกรรมการควบคุมอาจมาได้จากทั้งภายในและภายนอก เนื่องจากระบบ IT จะเป็นส่วนเชื่อมโยงกับภายในและภายนอกองค์กร กิจกรรมการควบคุมภายนอก เช่น ระบบสำรองระบบ ระบบ Firewall เป็นต้น

การควบคุมสภาพแวดล้อมและกิจกรรมการบริหารและ ติดตาม Cyber Risk

กระบวนการระบุระบบสารสนเทศที่สำคัญ

หัวข้อการบรรยาย การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำกับกิจการที่ดี เหตุผลความจำเป็นในการบริหารความเสี่ยง ที่มาและแนวคิด COSO แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM 2004 แนวทางการบริหารความเสี่ยงตามหลัก COSO ERM integrated framework 2013 COSO in Cyber Age 2015 COSO ERM integrating with Strategy and Performance 2017

2017 ERM integrating with Strategy and Performance กรอบของ COSO อันใหม่นี้ พยายามเพิ่มเติมประเด็นการบริหารความเสี่ยง ERM เข้ากับการกำหนดกลยุทธ์องค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรได้ ตามนิยามของการบริหารความเสี่ยงองค์กรของ COSO

ปัจจัยที่มีส่วนในการเพิ่มผลการดำเนินงาน

แนวทาง ERM กับการสนับสนุนการเพิ่มมูลค่ากิจการ

แนวทาง ERM กับการสนับสนุนการเพิ่มมูลค่ากิจการ

แนวทางของ COSO จะช่วยสนับสนุน ผลการดำเนินงานและการกำกับกิจการที่ดี ได้อย่างไร?

กระบวนการในการกำหนดกลยุทธ์ Governance คือ การควบคุมกำกับการกำหนดกลยุทธ์ขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่าง ERM การควบคุมภายในและการกำหนดกลยุทธ์องค์กร

ความสำคัญของการกำกับกิจการที่ดี เตือนความจำ การกำกับกิจการที่ดีคือการแยกบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ผู้บริหารองค์กร และหมายรวมถึงแต่ละแผนกหรือฝ่ายให้ชัดเจน ขั้นตอนสภาพแวดล้อมภายในและสารสนเทศและการสื่อสาร เป็น 2 ขั้นตอนที่มีส่วนช่วยในการสนับสนุนให้เกิดการกำกับกิจการที่ดี เพราะสภาพแวดล้อมภายในทำให้เกิดการกำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละส่วนที่ชัดเจน ส่วนสารสนเทศและการสื่อสาร ทำให้เกิดการพูดคุยและสื่อสารกันทั่วทั้งองค์กร

3 แนวทางที่ ERM ช่วยให้เกิดการกำกับกิจการที่ดี ปรัชญาในการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Philosophy) ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) สภาพแวดล้อมในการควบคุม (Control Environment)

ปรัชญาการบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนของสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) ต้องมีการระบุปรัชญาความเสี่ยง ปรัชญาความเสี่ยง (Risk Management Philosophy) คือ ความเชื่อที่ถูกต้องเกี่ยวกับธรรมชาติของความเสี่ยงอย่างน้อย 3 เรื่อง คือ 1. การดำเนินงานต้องมีความเสี่ยง 2. ความเสี่ยงสามารถบริหารจัดการได้ 3. การจัดการกับความเสี่ยง (ได้อย่างเหมาะสม) สามารถสร้างมูลค่าให้สูงขึ้นได้

ตัวอย่างของปรัชญาความเสี่ยง การบริหารงานของบริษัทต้องมีประสิทธิภาพ ไม่ผิดกฎหมาย และไม่ทำให้บริษัทเสียชื่อเสียง

ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ หมายถึง ระดับความเสี่ยงที่ระบุไว้ในปรัชญาความเสี่ยง ความเสี่ยงใดมีความสำคัญก่อนหรือหลัง ความเสี่ยงไม่ต้องการให้เกิดขึ้น (รับไม่ได้)

การพิจารณาผลกระทบต่อระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้

องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมภายในที่สนับสนุน การกำกับกิจการที่ดี องค์กรต้องแสดงให้เห็นถึงความซื่อสัตย์และการมีจริยธรรม คณะกรรมการต้องแสดงให้เห็นถึงความมีอิสระต่อผู้บริหารองค์กร และทำหน้าที่ในการกำกับดูแลการพัฒนาและผลการดำเนินงานของการควบคุมภายใน ผู้บริหารภายใต้การกับดูแลของคณะกรรมการ ต้องสร้างโครงสร้างสายการบังคับบัญชา หน้าที่ความรับผิดชอบที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์องค์กร องค์กรต้องแสดงให้เห็นถึงพันธสัญญาที่จะทำให้บุคลากรทำหน้าที่เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร องค์กรต้องแสดงให้เห็นถึงมาตรการในการควบคุมภายในของแต่ละบุคคลเพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

การประเมินความเสี่ยงและการตอบสนองต่อความเสี่ยง การกำหนดกลยุทธ์องค์กร ควรมีการประเมิน ความเสี่ยง ว่ามีความเสี่ยงใดที่อาจจะเกิดขึ้นหรือยังคงมีอยู่จากกลยุทธ์องค์กรนี้ และจะจัดการความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างไร

กิจกรรมการควบคุมและสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมการควบคุมและสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยสนับสนุนการดำเนินการตามกลยุทธ์องค์กร (implement the strategies) เช่น กิจกรรมการควบคุมให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการตามนโยบายขององค์กร การสื่อสารข้อมูล อาทิ รายงานทางการเงินหรือรายงานต่าง ๆ จะช่วยให้ติดตามผลของการดำเนินกลยุทธ์ได้

บรรณานุกรม COSO 2013 Framework Update – Raligh IIA, 2014 Leverage COSO across the three line of defense, The Institution of Internal Auditor, July 2015 COSO in the Cyber Age, Deloitte, 2017 Enterprise Risk Management integrating with Strategy and Performance, COSO, June 2017 How the COSO Framework can help improving organizational performance and governance Maximize Value from your lines of defense, EY, December 2013