ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
Advertisements

อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
Health System Reform.
หลักธรรมาภิบาล ของ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
True Innovation Awards 2015 for True Presented by: Date:
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
Office of The National Anti-Corruption Commission
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
(Economic Development)
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
SEA Strategic Environmental Assessment E S A
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ.
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
Line Manager is Leader.
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
Dr.Pokkrong Manirojana
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
แนวคิดและตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ เพื่อการถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการ
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
สถาบันอุดมศึกษา ต้องพัฒนาเป็นธรรมาภิบาล
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
ความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ นายธนกวีร์ ทาธรรม เจ้าพนักงานป้องกันการทุจริตชำนาญการ สำนักงาน ป.ป.ช. ประจังหวัดระยอง

หัวข้อการนำเสนอ 1 2 3 4 กรอบความคิดเบื้องต้นและความเป็นมาของธรรมาภิบาล พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2 หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3 4

การบริหารงาน ภาครัฐแนวใหม่(New Public Management : NPM) กรอบความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับธรรมาภิบาล (Good Governance) การบริหารงาน ภาครัฐแนวใหม่(New Public Management : NPM) ประชาธิปไตย (Democracy) ธรรมาภิบาล (Good Governance : GG) - NPM มาจาก เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค +เทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ เน้นประสิทธิภาพ คุ้มค่า คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการ มุ่งผลลัพธ์ - ประชาธิปไตย มาจาก แนวคิดประชาธิปไตยทางตรง /ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ เน้นในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชน การกระจายอำนาจ เปิดเผย โปร่งใส * ธรรมาภิบาล (Good Governance) = การวางระบบการบริหารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในองค์การ (organization) /การควบคุมให้คนไม่ประพฤติในสิ่งที่ไม่ดี หรือประพฤติตามมาตรฐานที่ดี เพื่อความยั่งยืนขององค์การ (organization) การวางระบบการบริหารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในองค์การ การควบคุมให้คนไม่ประพฤติในสิ่งที่ไม่ดี หรือประพฤติตามมาตรฐานที่ดี เพื่อความยั่งยืนขององค์การ

ความเป็นมาของธรรมาภิบาล ( Good Governance) จากความล้มเหลวของระบบการบริหารจัดการต่างๆ ของภาครัฐ และภาคเอกชน ทั้งในระดับหน่วยงานและระดับประเทศ ทำให้เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม ธนาคารโลก (World Bank) คศ. 1989 Good Governance ได้ถูกอ้างถึงครั้งแรกในรายงานของธนาคารโลก (World Bank) เมื่อปี ค.ศ.1989 (พ.ศ. 2532) เรื่อง“Sub-Sahara Africa from Crisis to Sustainable Growth” กล่าวถึง ความสำคัญของการมี Governance และการฟื้นฟูเศรษฐกิจ องค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) จากนั้นมา หน่วยงานต่างๆทั้งในระดับนานาชาติ และระดับประเทศต่างๆ ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับหลัก Good Governance คณะกรรมการกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) ปี 1989 (พ.ศ. 2532) มีการวิจัยและใช้คำว่า GG โดยกลุ่มนักวิชาการและนักวิจัยขององค์การระหว่างประเทศ : UN/ WB/ IMF ที่ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาหรือมีปัญหาทางการเงินและเทคโนโลยี จากผลการศึกษาวิจัยและประสบการณ์การทำงาน พบว่า กุญแจสำคัญที่นำไปสู่การฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของประเทศต่าง ๆ อย่างยั่งยืน คือ การที่ประเทศเหล่านั้นมีธรรมาภิบาล หรือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(Good Governance) ซึ่งเป็นหลักการที่สอดคล้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย การบริหารบ้านเมืองที่เคารพสิทธิมนุษยชน และเป็นระบบที่ให้ความสำคัญแก่ประชาชน องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development : OECD) Good Governance ………………. ……………….

ความเป็นมาของธรรมาภิบาล ( Good Governance) (ต่อ) จากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไทยที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนของสังคม สาเหตุสำคัญเกิดจากการบริหารจัดการในระดับประเทศ และระดับองค์กร ทั้งในภาครัฐและเอกชน มีความบกพร่องและขาดประสิทธิภาพ รวมถึง การกระทำผิด ทุจริต และขาดจริยธรรม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงให้ความสำคัญเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ทั้งภาครัฐและเอกชน 2542 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 - ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 2540 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 2545 2546 พ.ศ. 2550 2550 ภาครัฐ ใช้คำว่า Good Governance หลักธรรมาภิบาล/ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี/ การบริหารบ้านเมืองและสังคมที่ดี/ ธรรมรัฐ/สุศาสนการ ภาคเอกชน ใช้คำว่า Corporate Governance บรรษัทภิบาล/ การกำกับดูแลกิจการที่ดี หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกับ หลักธรรมาภิบาล (Good Governance : GG )เป็นอย่างมาก โดยในภาคเอกชนใช้คำว่าบรรษัทภิบาล หรือการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance : CG)

ความหมายของธรรมาภิบาล ( Good Governance) ธรรมา + อภิบาล ธรรมา = (ธรรมา/ธรรมะ) ความดีความงาม ความถูกต้องชอบธรรม อภิบาล = การรักษา การดูแล การปฏิบัติ ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ธรรมาภิบาล = การนำหลักธรรม มาใช้ในการบริหารจัดการหรือเรียกอีกว่า ธรรมรัฐ

ความหมายของธรรมาภิบาล/ธรรมรัฐ มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของธรรมาภิบาล หรือธรรมรัฐ แตกต่างกันอีกไป อาทิ เช่น ศ. นพ. ประเวศ วสี รัฐที่มีความถูกต้อง เป็นธรรม ซึ่งหมายถึงความถูกต้องเป็นธรรมใน 3 เรื่องใหญ่ ๆ คือ 1. การเมืองและระบบราชการที่โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม ถูกตรวจสอบได้ 2. ภาคธุรกิจที่โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม สามารถตรวจสอบได้ 3. สังคมที่เข้มแข็ง ความเป็นประชาสังคม (Civil Society) สามารถตรวจสอบภาครัฐ และภาคธุรกิจให้ตั้งอยู่ในความถูกต้องได้

ความหมายของธรรมาภิบาล/ธรรมรัฐ ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ ธรรมรัฐ หมายถึง การบริหารหรือ การปกครองที่ดีและมีความเป็นธรรม ดร.ธีรยุทธ บุญมี ธรรมรัฐ คือ กระบวนความสัมพันธ์ ระหว่างภาครัฐ ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ในการที่จะทำให้การบริหารราชการแผ่นดิน ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม โปร่งใส ยุติธรรมและตรวจสอบได้

ธรรมาภิบาลกับความเชื่อมโยงนโยบายภาครัฐ

นโยบายของรัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในวันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 นโยบายที่ 10 นโยบายการส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มี ธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ

ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2559-2579 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามการทุจริต ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ระยะที่ 3 ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต 2560-2564 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2560-2564 แผนพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม 2559-2561 THAILAND 4.0

หัวข้อการนำเสนอ 1 2 3 กรอบความคิดเบื้องต้นและความเป็นมาของธรรมาภิบาล พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2 3 หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผล การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้”

เจตนารมณ์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พัฒนา ระบบราชการ ให้มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง ความต้องการของประชาชน ทำให้บ้านเมืองอยู่อย่าง สันติ สงบสุข สร้าง กฎ เกณฑ์ และกลไกที่ดี ในการบริหารราชการ

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี (ม.6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (ม.7-8) เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศ สังคมมีความสงบและปลอดภัย ประชาชนมีความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดี หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 การอำนวย ความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของ ประชาชน (ม.37-44) การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (ม.9-19) การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (ม.20-26) การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ม.27-32) การปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ(ม.33-36) การประเมินผล การปฏิบัติราชการ (ม.45-49) เบ็ดเตล็ด (ม.50- 53) จัดทำแผนปฏิบัติราชการล่วงหน้า ที่กำหนดเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ KPI ที่ชัดเจน (แผนฯ 4 ปี , แผนฯ ปี) แผนปฏิบัติฯ สอดคล้องกับนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนนิติบัญญัติ จัดทำความตกลงเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการ การหารือระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (บูรณาการ) องค์การแห่งการเรียนรู้ จัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับแผน จัดให้มีการติดตามผล ประเมินผล และรายงานผล กำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จและงบประมาณที่ใช้ จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วย การประเมินความคุ้มค่า การจัดซื้อจัดจ้างไม่ต้องถือราคาต่ำสุดอย่างเดียว การขอความเห็นชอบจากส่วนราชการอื่น ให้หน่วยงานที่มีอำนาจอนุญาต อนุมัติ แจ้งผลให้หน่วยงานที่ยื่นคำขอทราบใน 15 วัน มติคณะกรรมการให้ผูกพันส่วนราชการ ซึ่งมีผู้แทนร่วม ปกคิการสั่งราชการให้เป็นลายลักษณ์อักษร จะสั่งราชการด้วยวาจาก็ได้ แต่ให้บันทึกคำสั่งด้วยวาจารายงานผู้บังคับบัญชาภายหลัง การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การควบคุมติดตามและกำกับดูแล แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการทำงาน นำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ จัดระบบบริการสำหรับงานที่เกี่ยวข้องกันหลายส่วนราชการให้มีความชัดเจน การปรับปรุงหลักเกณฑ์วิธีการที่กำหนดในกฎหมาย จัดตั้งศูนย์บริการร่วมในกระทรวง จังหวัด และอำเภอ ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจของตน ให้ส่วนราชการปรับปรุงโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ให้สอดคล้องกับภารกิจ ห้ามจัดตั้งส่วนราชการที่มีภารกิจลักษณะเดียวกับที่ยุบเลิก ทบทวนกฎหมายให้ทันสมัย กำหนดมาตรฐานการบริการของส่วนราชการ การจัดระบบรับคำร้องเรียน ความเห็น และข้อเสนอแนะของประชาชน การจัดระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการบริการ การปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบ ที่เป็นอุปสรรคต่อ ส่วนราชการอื่น การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนทราบ การประเมินผลสัมฤทธิ์ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการความคุ้มค่า โดยผู้ประเมินอิสระ ประเมินผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัว และหน่วยงาน ให้รางวัลตอบแทน ส่วนราชการ และข้าราชการ กำหนดเงื่อนไขและมาตรการอื่นเพิ่มเติมได้ การลดความซ้ำซ้อนของการจัดทำแผนงานตามที่กฎหมายอื่นกำหนด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติตามแนวทางนี้ด้วย

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ แนวนโยบายของรัฐบาล Strategic Management ม.13 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน Result Based Management Participation Transparency & Responsive Customer-Driven ม.15 แผนนิติบัญญัติ ม.9(2) แผนปฏิบัติราชการมีเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลสำเร็จ (3) จัดให้มีการติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ม.16 - ม.17 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี ม.8 (3) วิเคราะห์ผลดี/เสียก่อนเริ่มดำเนินการ (4) รับฟังความเห็นประชาชน (5) หากเกิดปัญหาอุปสรรค ให้รีบแก้ไข โดยเร็ว ม.33 ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ทบทวนภารกิจ อำนาจหน้าที่ โครงสร้าง และอัตรากำลัง ม.35 ทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบที่อยู่ใน ความรับผิดชอบ เพื่อยกเลิก ปรับปรุง หรือ จัดให้มีขึ้นใหม่ ให้ทันสมัย สอดคล้องกับ ความจำเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง โดยคำนึงความสะดวก และลดภาระประชาชน ม.10 การบริหารราชการ แบบบูรณาการร่วมกัน ม.41 หากมีข้อร้องเรียนต้องแก้ไขและ ให้แจ้งผลการดำเนินการผ่าน IT ม.42 ให้แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เป็น อุปสรรค และกรณีได้รับการร้องเรียน ให้พิจารณาโดยทันที และชี้แจง ผู้ร้องเรียน/เสนอแนะ ภายใน 15 วัน ม.42 ให้ชี้แจงผู้ร้องเรียน/เสนอแนะ ภายใน 15 วัน ม.12 การจัดทำความตกลงเป็น ลายลักษณ์อักษร เพื่อแสดง ความรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ KM/LO ม.23 จัดซื้อโปร่งใส ม.24 ส่วนราชการที่มีอำนาจอนุญาต อนุมัติ แจ้งผลให้ส่วนราชการที่ยื่น คำขอภายใน 15 วันนับแต่ที่ได้รับคำขอ ม.25 วินิจฉัยปัญหาโดยเร็ว มติคณะกรรมการผูกพันส่วนราชการ ที่มีผู้แทนร่วมเป็นกรรมการ ม.26 สั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร ม.43 การปฏิบัติราชการใดๆ โดยปกติ ให้ถือเป็นเรื่องเปิดเผย ม.44 เผยแพร่ข้อมูล งปม. รายจ่ายแต่ละปี ม.11 องค์การแห่งการเรียนรู้ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน VFM/Activity-Based Costing ม.37 กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ม.38 ส่วนราชการต้องตอบคำถาม หรือ แจ้งการ ดำเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน ม.39 นำ IT มาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ม.21 ให้จัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ - อธิบาย พรฎ. GG รายมาตรา โดยมีกรอบแนวคิดมาจากหลัก GG : NPM + ประชาธิปไตย (ตัวพิมพ์สีแดง) ม.22 การประเมินความคุ้มค่า ในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ม.27 กระจายอำนาจการอนุญาต อนุมัติ เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว และลดขั้นตอน การปฏิบัติราชการ ม.29 จัดทำแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา ม.30 - ม.32 ศูนย์บริการร่วม ม.45 มีคณะผู้ประเมินอิสระ ประเมินผลสัมฤทธิ์ คุณภาพการให้บริการ/ความพึงพอใจประชาชน ม.46- ม.47 ประเมินผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ม.48- ม.49 เงินรางวัล ม. 52 – ม.53 ให้ อปท. องค์การมหาชน และ รัฐวิสาหกิจ จัดทำหลักเกณฑ์การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ตามแนวทาง พรฎ. นี้ Business Process Reengineering Accountability

หัวข้อการนำเสนอ 1 2 3 กรอบความคิดเบื้องต้นและความเป็นมาของธรรมาภิบาล พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2 3 หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (GG Framework) หลักธรรมาภิบาลของการบิรหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ใหม่ล่าสุด) มีที่มาจาก 1. อ.ก.พ.ร. GG ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 13 ก.ย. 54 ให้ปรับปรุงหลัก GG 10 หลัก (ปี 52) โดยรวมเรื่องที่เกี่ยวข้องไว้ด้วยกันเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้เป็นหลักการที่ง่ายต่อความเข้าใจและการนำไปปฏิบัติ และให้นำเสนอต่อ ก.พ.ร. และ ค.ร.ม. เพื่อประกาศใช้ต่อไป 2. เพื่อให้หลัก GG มีความง่ายต่อความเข้าใจ สะดวกต่อการจดจำ และการนำไปปฏิบัติ เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพบริบทของประเทศไทย จึงได้นำประเด็นที่มีความสัมพันธ์กันรวมไว้เป็นหมวดหมู่ และได้ให้ความสำคัญในเรื่องความรับผิดชอบทางการบริหาร โดยเพิ่มเติมในเรื่องการสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญปี 50 มาตรา 279 ซึ่งได้กำหนดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละประเภทไว้ด้วย โดยที่ในบริบทของประเทศไทย อาจจะไม่สามารถใช้แนวทางฉันทามติกับทุกเรื่องได้ ดังนั้น อ.ก.พ.ร.จึงเห็นควรรวมหลักนี้ไว้กับหลักการมีส่วนร่วมและปรับถ้อยคำเป็น “หลักการมีส่วนร่วม/การพยายามแสวงหาฉันทามติ (Participation /Consensus Oriented)” (มติ อ.ก.พ.ร. GG ครั้งที่ 4/2554 วันที่ 17 พ.ย. 54) 3. สำนักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอ ค.ร.ม. เรื่อง ข้อเสนอแผนการส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างยั่งยืน ในการประชุม เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 55 ซึ่ง ค.ร.ม. ได้เห็นชอบกับข้อเสนอดังกล่าว โดย GG Framework เป็นส่วนหนึ่งของข้อเสนอ ฯ (ปรากฏในข้อเสนอ ฯ บทที่ 2 หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี) 4. โดยสรุป GG Framework ประกอบด้วย 4 หลักการสำคัญ และ 10 หลักการย่อย ได้แก่ 1) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM) : ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ การตอบสนอง 2) ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) : หลักภาระรับผิดชอบ/ สามารถตรวจสอบได้ หลักความเปิดเผย/โปร่งใส หลักนิติธรรม และหลักความเสมอภาค 3) ประชารัฐ (Participatory State) : หลักการกระจายอำนาจ และหลักการมีส่วนร่วม/การมุ่งเน้นฉันทามติ 4) ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) : หลักคุณธรรม/จริยธรรม(Morality/Ethics) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบราชการไทย 8 ประการ I AM READY (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในสไลด์ที่ 27) ( ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เรื่องข้อเสนอแผนการส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาล ฯ )

ให้บริการอย่าง เท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยก หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (GG Framework) สามารถให้บริการได้อย่างมีคุณภาพ สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด เกิดผลิตภาพ ที่คุ้มค่าต่อการลงทุนและบังเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อส่วนรวม มีวิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศีลธรรม คุณธรรม สามารถตอบคำถามและชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัย รวมทั้งต้องมีการจัดวางระบบการรายงานความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย มีการมอบอำนาจและกระจายความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดำเนินการให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและเชื่อถือได้ รับฟังความคิดเห็นของประชาชน รวมทั้งเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ความหมายแต่ละหัวข้อดูตามสี ใช้อำนาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ ให้บริการอย่าง เท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยก ( มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 )

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักการสำคัญ หลักการย่อย ความหมาย การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) 1. หลักการตอบสนอง (Responsive) ในการปฏิบัติราชการต้องสามารถให้บริการได้อย่างมีคุณภาพ สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด สร้างความเชื่อมั่นไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองตามความคาดหวัง/ความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายและมีความแตกต่างกันได้อย่างเหมาะสม 2. หลักประสิทธิผล (Effective) ในการปฏิบัติราชการต้องมีวิสัยทัศน์เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ มีการวางเป้าหมายการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและอยู่ในระดับที่ตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชน สร้างกระบวนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน มีการจัดการและมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานเป็นเลิศ รวมถึงมีการติดตาม ประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 3. หลักประสิทธิภาพ /คุ้มค่า (Efficiency / Value for money) ในการปฏิบัติราชการต้องใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด เกิดผลิตภาพที่คุ้มค่าต่อการลงทุนและบังเกิดประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวม ทั้งนี้ ต้องมีการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานเพื่ออำนวยความสะดวกและลดภาระค่าใช้จ่าย ตลอดจนยกเลิกภารกิจที่ล้าสมัยและไม่มีความจำเป็น

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักการสำคัญ หลักการย่อย ความหมาย ความรับผิดชอบทางการบริหาร (Administrative Responsibility) 4. คุณธรรม/จริยธรรม (Morality/Ethics) ในการปฏิบัติราชการต้องมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีศึลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และจรรยาบรรณวิชาชีพ

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักการสำคัญ หลักการย่อย ความหมาย (Participatory State) ประชารัฐ 5. หลักการกระจายอำนาจ (Accountability) ในการปฏิบัติราชการควรมีการมอบอำนาจและกระจายความรับผิดชอบในการตัดสินใจ และการดำเนินการให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการโอนถ่ายบทบาทและภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม 6. การมีส่วนร่วม/ การพยายามแสวงหาฉันทา มติ (Participation/ Consensus Oriented) ในการปฏิบัติราชการต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชน รวมทั้งเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้องร่วมคิดแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจและการดำเนินงาน รวมถึงร่วมตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ต้องมีความพยายามในการแสวงหาฉันทามติหรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจะต้องไม่มีข้อคัดค้านที่หาข้อยุติไม่ได้ในประเด็นที่สำคัญ

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักการสำคัญ หลักการย่อย ความหมาย ค่านิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) 7. หลักความเสมอภาค (Equity) ในการปฏิบัติราชการต้องให้บริการอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มีการแบ่งแยกด้านชายหญิง ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม และอื่น ๆ อีกทั้งยังต้องคำนึงถึงโอกาสความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการสาธารณะของกลุ่มบุคคลผู้ด้อยโอกาสในสังคมด้วย 8. หลักนิติธรรม (Rule of Law) ในการปฏิบัติราชการต้องใช้อำนาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของฝ่ายต่างๆ 9. หลักเปิดเผย /โปร่งใส (Transparency) ในการปฏิบัติราชการต้องปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ตรงไปตรงมา รวมทั้งต้องมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและเชื่อถือได้ให้ประชาชนได้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนวางระบบให้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเป็นไปโดยง่าย 10. ภาระรับผิดชอบ/ สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) ในการปฏิบัติราชการต้องสามารถตอบคำถามและชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัย รวมทั้งต้องมีการจัดวางระบบการรายงานความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ต่อสาธารณะเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและการให้คุณให้โทษ ตลอดจนมีการจัดเตรียมระบบการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาและผลกระทบใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น

สรุป การใช้หลักธรรมาภิบาลทำให้องค์การสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานได้ อีกทั้งยังเป็นกลไกในการควบคุมติดตามและตรวจสอบ โดยมีประชาชนหรือองค์การภายนอกมีส่วนร่วม ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่การบริหารองค์การ เพราะการสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นในองค์การ เป็นการสร้างสานึกที่ดีในการบริหารงาน และการทำงานในองค์การ และจัดระบบที่สนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามสานึกที่ดี ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่สิ้นเปลือง การติดตามการทุจริต ความโปร่งใส โดยคำนึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ เนื่องจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐนั้น จะเกี่ยวข้องกับประชาชนโดยตรง สรุป

ถาม – ตอบ สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดระยอง จบการนำเสนอ สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดระยอง โทรศัพท์ 038 – 623206 – 9 โทรสาร (อัตโนมัติ) 038-623210 สายด่วน 1205 Email area61_nac@nacc.go.th เว็บไซต์ http://www.nacc.go.th/rayong http://www.facebook.com/naccrayong1 25