สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
มาตรการ + การดำเนินงาน มาตรการสำคัญ (PIRAB) - ขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม พรบ. การป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น - เร่งรัดการออกกฎกระทรวงภายใต้ พรบ.ฯ - เร่งรัดการจัดตั้งคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด - ประสาน อปท. สนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน - สร้างการสื่อสารสาธารณะเพื่อให้เข้าถึงบริการสุขภาพที่หลายหลายตรงความต้องการ - พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ และส่งเสริมการเข้าถึงบริการ สำนัก อพ. + สำนัก + สำนัก คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมกันขับเคลื่อน การดำเนินงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action plan) ภายใต้ยุทธศาสตร์ ฯ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรพัฒนาศักยภาพทีมเยี่ยมเสริมพลัง พัฒนาสื่อในรูปแบบต่างๆ ส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ประสานความร่วมมือกับ ศอ. สคร. ศูนย์สุขภาพจิต และ สสจ. ในการเยี่ยมเสริมพลังโรงพยาบาลให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS
วิธีการประเมินผลตามตัวชี้วัด รอบ 5 เดือนแรกใช้ข้อมูลจากระบบ HDC ต.ค. 59 - ก.พ. 60 เนื่องจากข้อมูลจำนวนการคลอดจากสำนักบริหารการทะเบียนจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขนั้น ไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 เป้าหมาย : อัตราการคลอด ระดับ 5 ไม่เกิน 42/ ปชก.ญ อายุ 15-19 ปี ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 46 45 44 43 42 ผลการประเมิน อัตราคลอดรอบ 5 เดือนแรกจากระบบ HDC รวมทุกเขต = 27.4 (ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด) ศอ. 1- 13 ผ่านเกณฑ์การประเมินกำหนด
ผลการดำเนินงาน ศอ. อัตราการคลอด (HDC) คะแนน 1 20.9 5 8 31.3 2 32.4 9 31.8 3 32.5 10 23.8 4 23.6 11 22.7 12 26.4 6 26.3 13 15.9 นนทบุรี ปทุมธานี 7 27.2 รวม 27.4
Best Practice ศอ. 4 สระบุรี หลักฐานครบถ้วน แสดงผลการดำเนินงาน ได้อย่างชัดเจน - ข้อมูลดูง่าย แยกหมวดหมู่ชัดเจน ศอ. 9 นครราชสีมา เข้าถึงข้อมูลในการแสดงหลักฐานได้ง่าย ศอ. 9 มีการจัดทำสื่อ info graphic เผยแพร่ข้อมูลและความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่วัยรุ่นและเยาวชน ศอ. 2 พิษณุโลก - มีการดำเนินงานกิจกรรมสำคัญได้ครบถ้วน แสดงหลักฐานชัดเจน ศอ. 10 อุบลราชธานี แสดงหลักฐานการดำเนินงานกิจกรรมสำคัญ YFHS อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ได้อย่างชัดเจน
ที่ร่วมกันผลักดันการดำเนินงานให้สำเร็จ THANKS! ขอขอบคุณทุกหน่วยงาน ที่ร่วมกันผลักดันการดำเนินงานให้สำเร็จ