โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ บทที่ 2 โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
กลยุทธ์การอุตสาหกรรม กลยุทธ์โซ่อุปทาน กลยุทธ์การอุตสาหกรรม กลยุทธ์การผลิต กลยุทธ์การใช้ระบบการผลิต กลยุทธ์การเลือกสถานที่ตั้ง กลยุทธ์การใช้ตารางเวลา การวางผังโรงงานและสถานที่บริการลูกค้า กลยุทธ์คุณภาพ กลยุทธ์การใช้ทรัพยากรบุคคล กลยุทธ์การจัดการโซ่อุปทาน สินค้าคงคลังและการใช้กลยุทธ์ทันเวลาพอดี การบำรุงรักษาที่สร้างความเชื่อมั่นต่อเครื่องจักรและสายการผลิต
เป้าหมายเชิงกลยุทธ์เบื้องต้นของโซ่อุปทาน ลดค่าใช้จ่าย ลดเงินลงทุน การปรับการบริการ
กลยุทธ์โซ่อุปทานที่ใช้กันเสมอ การนำสินค้าเข้าตลาดทั่วไป การบริหารงานที่รวดเร็ว ใช้ความความสดและใหม่ของสินค้า ผลิตสินค้าตามความต้องการของผู้บริโภค ใช้การโลจิสติกส์ให้ได้ประสิทธิภาพ ใช้การวิเคราะห์พาเรโต
อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม กลยุทธ์การปรับปรุงการจัดเก็บและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ยอดขาย อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวม บริษัทน้ำท่วมจำกัดมีสินทรัพย์ก่อนปรับสินค้าคงคลัง ดังนี้ (หน่วย = 1,000) ยอดขาย 4,000 สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ถาวร 800 สินทรัพย์หมุนเวียน สินค้าคงคลัง 800 ลูกหนี้การค้า 200 เงินทุนหมุนเวียน 200 1,200 2,000 EX 4,000 2,000 2
ถ้าเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งรวดเร็วขึ้น ทำให้ต้องการสินค้าคงคลังลดลง จาก 800 เหลือ 600 อัตราการหมุนของสินทรัพย์รวมดีขึ้น EX บริษัทน้ำท่วมจำกัดมีสินทรัพย์ก่อนปรับสินค้าคงคลัง ดังนี้(หน่วย = 1,000) ยอดขาย 4,000 สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ถาวร 800 สินทรัพย์หมุนเวียน สินค้าคงคลัง 600 ลูกหนี้การค้า 200 เงินทุนหมุนเวียน 200 1,000 1,800 4,000 1,800 2.22
การจัดการมาใช้ในการประสานงาน การให้ความร่วมมือภายในองค์การ การขยายตัวขององค์กรสู่ลูกค้าและผู้จำหน่ายวัสดุหรือวัตถุดิบ กำหนดการแลกเปลี่ยนข้อมูล กำหนดระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูง การดำเนินการร่วมกับผู้ให้บริการ
การตอบสนอง ตัวแบบธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (องค์ประกอบของ logistics) วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ พยากรณ์ ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต คลังสินค้า ฝ่ายขาย ฝ่ายจัดส่ง ข้อมูลความต้องการ ข้อมูลความต้องการ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อ 1. ได้รับสินค้าตรงตามความต้องการ 2. ในคุณภาพที่ถูกต้อง 3. ราคาตามที่ ได้ตกลงกันไว้ 4. การบริการที่ถูกต้อง 5. ได้รับสินค้าตรงเวลา
การตอบสนอง ตัวแบบฐานธุรกิจแบบมีการตอบรับ (องค์ประกอบของ logistics) วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่ง ข้อมูลความต้องการ ข้อมูลความต้องการ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อ 1. ได้รับสินค้าตรงตามความต้องการ 2. ในคุณภาพที่ถูกต้อง 3. ราคาตามที่ ได้ตกลงกันไว้ 4. การบริการที่ถูกต้อง 5. ได้รับสินค้าตรงเวลา
กลยุทธ์การเลื่อนการจัดส่ง หลักการ เวลาของการจัดส่งและสถานที่กำหนดการผลิตอาจรอได้จนกว่าได้รับใบสั่งซื้อที่เป็นทางการเพื่อหลีกเลี่ยงการส่งของก่อนความต้องการจริง ชนิดการเลื่อนการจัดส่ง อุตสาหกรรมที่สนใจ ฉลากสินค้า บริษัทขายสินค้าหลายตรา บริษัทมีสินค้าที่มีราคาหน่วยสูง บริษัทมีสินค้าที่มีราคาที่เปลี่ยนแปลงสูง หีบห่อของสินค้า บริษัทมีสินค้าที่มีหีบห่อหลายขนาดราคา บริษัทมีสินค้าที่มีหีบห่อที่มีขนาดราคาสูง บริษัทมีสินค้าที่มีราคาที่เปลี่ยนแปลงขึ้นลงสูง ประกอบสินค้าจาก บริษัทมีสินค้าที่มีแบบหลากหลาย
กลยุทธ์การเลื่อนการจัดส่ง หลักการ เวลาของการจัดส่งและสถานที่กำหนดการผลิตอาจรอได้จนกว่าได้รับใบสั่งซื้อที่เป็นทางการเพื่อหลีกเลี่ยงการส่งของก่อนความต้องการจริง ชนิดการเลื่อนการจัดส่ง อุตสาหกรรมที่สนใจ ชิ้นส่วน บริษัทมีสินค้าที่ประกอบเป็นสินค้าสำเร็จรูปแล้วแต่ขนาดจะเพิ่มมาก บริษัทมีสินค้าที่มีราคาต่อหน่วยสูงมาก บริษัทมีสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงยอดขายสูง ผู้ผลิต ผลิตสินค้าที่วัตถุดิบหาได้ง่าย ผลิตสินค้าที่มีค่าต่อหน่วยสูง ผลิตสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงยอดขายสูง เวลา สินค้าที่มีราคาต่อหน่วยสูงมาก มีคลังสินค้ามากและตั้งอยู่ในสถานที่แตกต่างกัน สินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงยอดขายสูง
ลักษณะที่นิยมเพื่อการเลื่อนการจัดส่ง เทคโนโลยีและระบบการผลิต สามารถแยกการผลิตปรกติออกจากสินค้าที่การเลื่อนการจัดส่งได้ ยืดหยุ่นในการผลิตจำนวนมาก การออกแบบเป็นหน่วย หาวัตถุดิบได้หลายแหล่ง ลักษณะของสินค้า สินค้ามีลักษณะเป็นหน่วยและคล้ายคลึงกับหน่วยอื่น สินค้ามีสูตรเฉพาะ มีคุณลักษณะเฉพาะและตายตัว มีค่าต่อหน่วยสูง ผลิตภัณฑ์เพิ่มขนาดและน้ำหนักเมื่อผลิตตามการสั่งพิเศษ
ลักษณะที่นิยมเพื่อการเลื่อนการจัดส่ง ลักษณะและคุณสมบัติของตลาด มีวงจรชีวิตสินค้าสั้น มีความเปลี่ยนแปลงยอดขายขึ้นลงสูง เวลานำสั้นแต่แน่นอน มีการแข่งขันในด้านราคาสูง ตลาดและผู้บริโภคแปรผันง่าย
ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...