การถ่ายโอนพลังงานความร้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Ecological Succession)
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
มลพิษของน้ำ สาเหตุ 1. น้ำทิ้งจากอาคารบ้านเรือน เป็นสาเหตุที่ทำให้น้ำในแม่น้ำลำคลองของกรุงเทพฯ เน่าเสียมากที่สุด 2. น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นสาเหตุที่ทำให้แม่น้ำลำคลองในต่างจังหวัดเน่าเสียมากที่สุด.
IP-Addressing and Subneting
ความเค้นและความเครียด
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
น้ำและมหาสมุทร.
SPEI R & R Studio Program User Manual.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
บทที่ 6 อุณหภูมิและความร้อน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความเข้มข้นของสารละลาย
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ปริมาณความร้อนในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความจุความร้อนจำเพาะ   พลังงานความร้อนที่ทำให้วัตถุมวล  1  หน่วย  มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน Q = ปริมาณความร้อน  cal m = มวลของสาร  kg c = ความจุความร้อนจำเพาะของสาร cal/kg.C t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ปริมาณความร้อนในการเปลี่ยนแปลงสถานะ ความร้อนแฝง ปริมาณที่สารใช้ในการเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิไม่เปลียน ความร้อนแฝงจำเพาะ ปริมาณที่สารมวล 1 หน่วย  รับหรือคาย  เพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยน

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ปริมาณความร้อนในการเปลี่ยนแปลงสถานะ L = ความร้อนแฝงจำเพาะของสาร L ของการหลอมเหลวหรือการแข็งตัว = 80 cal/g  L ของการกลายเป็นไอหรือการควบแน่น = 540 cal/g Q  =  mL

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 6 เติมน้ำเย็น 14 °C ปริมาณ 200 g ลงไปในแก้ว แล้วใช้เปลวไฟจากตะเกียงลนก้นแก้วจนกระทั่งน้ำมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 19°C พลังงานความร้อนที่เปลวไฟจากตะเกียงถ่ายเทให้มีค่ากี่กิโลจูล (กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg K)

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตอบ 4.2 กิโลจูล

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 7 ให้พลังงานความร้อนขนาด3000 จูล กับเหล็ก ท่อนหนึ่ง ปรากฏว่า เหล็ก มีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก30 องศาเซลเซียส เป็น 80 องศาเซลเซียส จงหามวลของเหล็กอันนี้ (กำหนดเหล็ก มีค่าความจุความร้อนจา เพาะ0.500 กิโลจูล/กิโล กรัม.เคลวิน)

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 8 น้ำแข็งมวล5 kg อุณหภูมิ0 องศาเซลเซียส เปลี่ยนเป็นน้ำ ที่ 0 องศาเซลเซียส ต้องใช้พลังงานความร้อน เท่าใดกำหนด ค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้า 333 kJ / kg

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 9 กาต้มน้ำไฟฟ้าให้ความร้อนขนาด 700 W น้ำรับพลังงานความร้อน 80% นานกี่นาที จึงต้มน้ำ 500 g ที่ 4 °Cมีอุณหภูมิเป็น 100 °C (กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg K)

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 10 วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 500 g เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุนี้ด้วยอัตราคงที่ 1 kJ/sเป็นเวลา 4 นาที พบว่าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 96 °C จงหาความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุนี้เป็นกี่กิโลจูลต่อกิโลกรัม เคลวิน

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 10 วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 500 g เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุนี้ด้วยอัตราคงที่ 1 kJ/sเป็นเวลา 4 นาที พบว่าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 96 °C จงหาความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุนี้เป็นกี่กิโลจูลต่อกิโลกรัม เคลวิน

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 11 ก้อนหินน้ำแข็งมวล 3 kg มีอุณหภูมิ 0 °C ตกลงไปในทะเลสาบ ที่มีอุณหภูมิ 0 °C เช่นเดียวกัน ปรากฏว่าน้ำแข็งละลายไป 0.20 kg น้ำแข็งตกลงมาจากระดับความสูงกี่เมตร (กำหนดให้ ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 300 kJ/kg)

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 12 ปริมาณความร้อนทั้งหมดกี่กิโลจูลที่ทำให้มวลน้ำแข็ง 500 g อุณหภูมิ 0 °C กลายเป็นน้ำหมด และสุดท้ายน้ำ 50 g เดือดกลายเป็นไอ (กำหนดให้ ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวเท่ากับ 300 kJ/kg ,ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำเท่ากับ 4.2 kJ/kg K ,ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอเท่ากับ 2,265 kJ/kg)

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 13 ตะเกียงแอลกอฮอล์ให้พลังงานความร้อน 700 จูลต่อวินาที เมื่อนำความร้อนไปให้แก่สารชนิดหนึ่ง เขียนกราฟระหว่างอุณหภูมิกับเวลาได้ดังรูป ถ้ามวลของสารนั้นเป็น 500 g จงหาความจุความร้อนจำเพาะของสารนี้

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน

การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ตัวอย่างที่ 14 ในการทดลองเปลี่ยนรูปพลังงานกลเป็นพลังงานความร้อน โดยใช้กระบอกที่มีค่าความจุความร้อนเป็น 100 J/K มีความยาว 30 cm และลูกกลมโลหะที่มีค่าความจุความร้อนเป็น 500 J/kgK มีมวล 100 กรัม ถ้าต้อการให้อุณหภูมิของลูกกลมและกระบอกที่ใช้บรรจุสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส จะต้องพลิกกลับ กระบอกขึ้นลงให้ลูกกลมหล่นในกระบอกอย่างน้อยกี่ครั้ง