บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
7 กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้. วัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สืบเนื่องจากที่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ ใช้ระบบมาแล้วระยะหนึ่ง และศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
Basic Input Output System
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
แนวทางการจัดทำรายงาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(Customer Relationship Management : CRM) โครงการตามแผนพัฒนาองค์การ
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 2 ความเข้าใจพื้นฐานของการพัฒนาระบบ .
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
โครงการจัดทำระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน และประเมินคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทางด้านเครื่องมือแพทย์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การติดตาม (Monitoring)
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน

1. การติดตั้งระบบ 1.1 การดำเนินติดตั้งระบบตามแผนที่วางไว้ การติดตั้งนี้จะดำเนินการได้หลังจากที่ได้ทดสอบระบบงานและดำเนินการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ให้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยจะต้องจัดหาอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆ มาใช้ให้ครบถ้วน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การติดตั้งระบบ 1.2 การสนับสนุนระบบ 1. จัดทำเอกสารระบบ ได้แก่ - เอกสารประกอบการพัฒนาระบบ - เอกสารคู่มือการใช้งานระบบ - เอกสารประกอบการฝึกอบรม 2. การจัดฝึกอบรม 3. การให้คำแนะนำขณะใช้งาน แบ่งเป็น - การรับคำแนะนำจากบุคลากรที่ทำหน้าที่สนับสนุนโดยตรง - ระบบให้ความช่วยเหลืออัตโนมัติ - รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การติดตั้งระบบ 1.3 การบำรุงรักษา (Maintenance) 1. ประเภทการบำรุงรักษา แบ่งเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 การแก้ไขข้อบกพร่อง (Corrective Maintenance) 1.2 การดัดแปลง (Adaptive Maintenance) 1.3 การทำให้สมบูรณ์ (Perfective Maintenance) 1.4 การป้องกันปัญหา (Preventive Maintenance) - รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การติดตั้งระบบ 1.3 การบำรุงรักษา (Maintenance) 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการบำรุงรักษา 2.1 ความสามารถในการบำรุงรักษาระบบ 2.2 จำนวนข้อบกพร่องที่ค้นพบภายหลัง 2.3 จำนวนผู้ใช้งานในระบบ 2.4 คุณภาพเอกสารประกอบการพัฒนาระบบ - รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การทบทวนระบบงาน 2.1 การทบทวนการพัฒนาระบบงาน 1. ข้อกำหนดทางลักษณะเฉพาะของระบบ (System Specification) 2. การออกแบบในเชิงตรรกะ (Logical Design) และ เชิงกายภาพ (Physical Design) 3. การเขียนโปรแกรมหรือการกำหนดค่าการทำงานให้กับซอฟต์แวร์ 4. การทบสอบระบบ 5. จัดทำเอกสารประกอบการพัฒนาระบบ - คู่มือการใช้งานและพจนานุกรม - เอกสารแสดงกระบวนงานของระบบ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การทบทวนระบบงาน 2.2 ประเมินผลการทำงาน 2.2.1 การประเมินผลการทำงาน เมื่อติดตั้งระบบใหม่แล้ว ต้องมีการ ประเมินผลด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ระบบว่าสามารถทำงานได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานหรือไม่ 2. มีจุดบกพร่องอะไรที่ควรปรับปรุงบ้าง 3. ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจหรือไม่อย่างไร หรือมีข้อคิดเห็นเสนอแนะ อะไรบ้าง รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การทบทวนระบบงาน 2.2 ประเมินผลการทำงาน 2.2.2 การส่งมอบหมาย นอกจากการประเมินผลการทำงานแล้ว ควรมีการประเมินผลความพึงพอใจจากเจ้าของระบบงานหรือผู้ใช้งานระบบ เพื่อการดำเนินงานส่งมอบงานพัฒนาระบบอย่างเป็นทางการ ควรมีการนัดประชุมกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เช่น ผู้บริหาร ผู้ที่สนับสนุนด้านการเงิน ผู้รับผิดชอบในส่วนของระบบสารสนเทศขององค์กร เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานพัฒนาระบบ และทำความตกลงร่วมกันในการรับมอบระบบใหม่และปิดโครงการ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การทบทวนระบบงาน 2.3 การทบทวนหลังการใช้งานระบบแล้ว ขณะการวิเคราะห์ระบบและการพัฒนาระบบ ควรมีการวางแผนสำหรับการทบทวนระบบเมื่อมีการใช้งานไปแล้วด้วย แต่ความถี่ในการทบทวยจะน้อยลงแต่จะเจาะลึกในรายละเอียดมากขึ้น หากมองอีกแง่มุมหนึ่งแล้ว การทบทวนระบบหลังการใช้งานเป็นส่วนหนึ่งของการบำรุงรักษาระบบ เพราะการทบทวนอาจจะทำให้พบข้อบกพร่องของระบบงานและนำมาซึ่งการปรับปรุงระบบให้สมบูรณ์ขึ้นนั้นเอง รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน จบการนำเสนอ บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน   รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ