Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
Advertisements

Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
การประเมินผลลัพธ์และผลกระทบจากนโยบายและยุทธศาสตร์
นวัตกรรมการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
Management To get the thing done thru other people To have someone to do something for us.
มองพัฒนาการเศรษฐกิจไทยผ่านกรอบ Daron Acemoglu
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนที่ 2 ระบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการบูรณาการ (Project Evaluation System)  การประเมินคุณภาพบริการ  การประเมินศักยภาพระบบสนับสนุน การวิเคราะห์ต้นทุน.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
( ประเด็น ) ยุทธศาสตร์ และ ตัวชี้วัด และ ตัวชี้วัด.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
การฝึกอบรมคืออะไร.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
13 October 2007
การออกแบบอีเลิร์นนิง
Human resources management
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา
Information System Development
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
13 October 2007
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
เทคนิค การติดตามและประเมินผล
Click to edit Master title style
Review of the Literature)
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
Development Strategies
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
  ISY3103 ธุรกิจสารสนเทศ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนารูปแบบ ส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นไทย สูงดี สมวัยและแข็งแรง
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
Inventory Control Models
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D. Associate professor in Public Administration National Institute of Development Administration (NIDA)

Evaluation the process of determining the merit, worth, and value of things Careful retrospective assessment of the merit, worth, and value of administration, output, and outcome of government interventions, which is intended to play a role in future, practical action situations

the Eight Problems Approach to Evaluation 1. The Purpose ประเมินไปทำไม 2. The Organization (Evaluator) ใคร ประเมิน จัดระบบอย่างไร 3. The Intervention Analysis วิเคราะห์ ปัจจัยแทรกอย่างไร 4. The Conversion กระบวนการเปลี่ยนผ่าน เป็นอย่างไร 5. The Result อะไรคือผลผลิต (Output) และ ผลลัพธ์ (Outcomes) 6. The Impact อธิบายผลกระทบจาก Results อย่างไร 7. The Criterion ใช้เกณฑ์อะไรมาประเมิน 8. The Utilization นำไปใช้ประโยชน์ อย่างไร ใช้จริงได้แค่ไหน

Evaluation Models 1 Effectiveness models 2 Economic models 3 Professional models

1 EFFECTIVENESS MODELS 1.1 Goals; Goal-attainment model, Side-effects model 1.2 Results; Goal-free evaluation model 1.3 System component; Comprehensive evaluation model 1.4 Client concerns etc; Client-oriented model 1.5 Stakeholder concerns; Stakeholder model, Policy commissions

2 Economic models 2.1 Productivity model 2.2 Efficiency model; Cost-effectiveness, Cost-efficiency

3 Professional model 3.1 Peer review

1.1 Goal-attainment Evaluation Results monitoring Goal-achievement measurement and impact assessment Do the results attained accord with the goals ? Disregards costs (Money time human efforts) !?

1.2 side-effects Evaluation Extended from Goal- Attainment Model Anticipated / Unanticipated results Positive / Negative

1.3 GOAL-FREE EVALUATION Stated or Unstated goals ought to be disregarded Skeletal model (results analysis)

Comprehensive evaluation (The Generic Countenance Model) Three phases : 1) Antecedent, 2)Transactional (Conversion) and 3) Outcome phase To contrast and to describe the intended with the actual, the goals with the realities

1.4 Client-Oriented Evaluation The superiority of the market place over public-sector provision Democratic,participatory case Is the program covering the whole target population or only parts of it? whether the program satisfies client concerns, desires, or expectations To elicit the client’s views of the program

1.5 The Stakeholder Model Stakeholders in public interventions Program stakeholders

2.1 Economic model: Productivity Productivity = Output/Input Read productivity = pages / time Sale productivity = Number / cost

2.2 Economic model: efficiency Cost-benefits: Value of program effects/Cost Cost-effectiveness: Program effect in physical term / Cost

3.1 Professional model: Peer Review An institutional model of evaluation A collegium basis To be used in research evaluation A procedure for retrospective assessment of implementation, outputs and outcomes

ทำไมต้องประเมินโครงการ 1) เพื่อเสริมข้อกำหนดในการ ได้รับการยกย่อง ยอมรับ เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีตำรวจ ฯลฯ

ทำไมต้องประเมินโครงการ 2) เพื่อการแสวงหาทุน แหล่ง ทุนจากรัฐบาล ท้องถิ่น และ องค์การสาธารณกุศลต่างๆ ต้องการใช้การประเมินเป็น เครื่องมือในการวัด ประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลของการให้ทุน หรือ การใช้เงินงบประมาณ อย่างคุ้มค่า

3) เพื่อตอบคำถามต่อข้อซักถาม ข้อสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับโครงการ โดยการรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวกับการ ประเมินผลไว้อย่างเป็นระบบจะ เป็นสิ่งที่ช่วยเหลือ สนับสนุน การทำงานของทีมงานใน โครงการเพื่อการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพ

ทำไมต้องประเมินโครงการ 4) เพื่อช่วยทีมงานในการพัฒนา โครงการในระยะต่อๆ ไป เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองควรที่จะได้รับ การพัฒนาต่อไปอย่างไร หรือ โครงการสุขภาพถ้วนหน้าของ ไทยควรที่จะได้รับการพัฒนา ต่อไปได้อย่างไร

ทำไมต้องประเมินโครงการ 5) เพื่อการเรียนรู้ผลกระทบของ โครงการที่อาจจะไม่คาดว่าจะ เกิดขึ้น ถ้าไม่มีการศึกษา ผลกระทบ โครงการจะไม่ได้ รับการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา ที่อาจจะเกิดขึ้นโดยไม่ได้ คาดหวังจากโครงการดังกล่าว

ชนิดหรือประเภทของการประเมิน 1 การประเมินความต้องการ การ ประเมินนี้มุ่งตอบคำถาม เช่น อะไร คือลักษณะจำเพาของสภาพความ เป็นอยู่ทางเศรษฐกิจและสังคมของ ชุมชน ก. ความต้องการที่จำเป็น เฉพาะสำหรับชุมชน ก. (ในด้าน สาธารณสุข การจ้างงาน การศึกษา หรือปัญหาอาชญากรรม) คืออะไรบ้าง อะไรคือรูปแบบของบริการที่น่าจะถูก นำมาใช้ในชุมชน ก. นี้

2 การประเมินกระบวนการ การประเมินนี้มุ่งตอบคำถาม เช่น โครงการ ก. นี้ ทำให้ ผู้รับบริการมีความสนใจในจำนวนมาก หรือไม่ ผู้รับบริการเป็นตัวแทนของ ประชากรกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ มี เจ้าหน้าที่โครงการที่สามารถติดต่อกับ ผู้รับบริการได้จริงจำนวนเท่าใด ภาระ งานของเจ้าหน้าที่โครงการเป็นไป ตามที่วางแผนหรือคาดการณ์ไว้จริง หรือไม่

3 การประเมินผลกระทบ การประเมินนี้มุ่งตอบคำถาม เช่น จำนวนคนที่เข้าเรียนหลักสูตรการอ่านเร็ว สามารถอ่านหนังสือได้เร็วขึ้นจริงใช่หรือไม่ พวกเขาอ่านหนังสือเร็วกว่าตอนที่ยังไม่ได้ เรียนหลักสูตรการอ่านเร็วใช่หรือไม่ มี หลักฐานเชิงประจักษ์ใดบ้างที่จะสามารถช่วย ระบุว่าหลักสูตรการอ่านเร็วเป็นสาเหตุที่ทำให้ เกิดการอ่านหนังสือได้รวดเร็วขึ้นจริงๆ

4 การประเมินประสิทธิภาพ การประเมินนี้มุ่งตอบคำถาม เช่น โครงการบรรลุผลสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยใช้ งบประมาณที่เหมาะสมหรือไม่

การวางแผนการประเมิน 6 ขั้นตอน 1 ระบุคนที่เกี่ยวข้อง (Identify relevant people)

2 จัดการประชุมเบื้องต้น (Arrange preliminary meetings) เพื่อตอบคำถามพื้นฐาน 5 ข้อ ให้ชัดเจน คือ 2.1) ใครต้องการการประเมิน (Who wants the evaluation?) 2.2) ชนิดหรือรูปแบบการประเมินที่ต้องการ (What type of evaluation is desired?) 2.3) เพราะเหตุใดจึงต้องการการประเมินผล (Why is the evaluation desired?) 2.4) เราต้องการผลการประเมินเมื่อใด (When is the evaluation desired?) 2.5) ทรัพยากรที่เรามีอยู่นั้นมีอะไรบ้าง (What resources are available?)

3 ประเมินความสามารถในการประเมินโครงการ (Assess the evaluability of the program)

4 ทบทวนวรรณกรรม (Examine the literature) โดยในขณะที่อ่านเอกสารต่างๆ ผู้ประเมินจำเป็นต้องตั้งคำถามสำคัญเหล่านี้ เช่น เคยมีการประเมินผลโครงการใน ลักษณะเช่นนี้มาก่อนแล้วบ้างหรือไม่

5. เลือกวิธีการศึกษา (Determine the methodology) 5.1) กลยุทธ์และการออกแบบ (Strategy and design) ในขั้นตอนนี้ กลยุทธ์และการออกแบบการประเมินจะ ขึ้นอยู่กับว่า โครงการที่ต้องการจะประเมินนั้นจะประเมิน ในส่วนใด กระบวนการ ผลลัพธ์ หรือต้นทุนความมี ประสิทธิผล ซึ่งเป็นไปได้ว่าบางโครงการอาจจะถูก ประเมินมากกว่าหนึ่งส่วน ดังนั้นในการวางกลยุทธ์การ ประเมินและการออกแบบจะต้องตรงประเด็นตามที่ผู้ประเมิน อยากทราบผลการประเมิน

5.2) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population and sampling) ประชากร (1,000 คน) และกลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอย่างมาร้อย ละ 10 (100 คน) แล้วคาดหวังผู้ให้ข้อมูล ร้อยละ 75 (75/100) ดีกว่าที่ ว่าเราจะ พยายามประเมินประชากรทั้งหมด (1,000 คน) โดยมีคนให้ความร่วมมือที่จะให้ข้อมูล เพียงร้อยละ 30 (300/1,000)

5.3) กลุ่มควบคุมและเปรียบเทียบ (Control and comparison groups) ในการประเมิน เพื่อให้ได้ผลที่มีความชัดเจนเที่ยงตรง การออกแบบ กลุ่มควบคุมและกลุ่มเปรียบเทียบมีความสำคัญมาก เช่น หากจะวัดประเมินประสิทธิภาพการรักษาโรค B ด้วยการใช้ยา A เราอาจจะต้องออกแบบการ ประเมินให้มีกลุ่มทดลอง (คนไข้โรค B ที่ได้รับยา A) และกลุ่มควบคุม (คือกลุ่มคนไข้โรค B ที่ไม่ได้ รับยา A) เป็นต้น

5.4) การเลือกสรรเครื่องมือในการวัด (Selection of measures) ต้องเลือกสรร เครื่องมือในการวัดที่คาดว่าเที่ยงตรงและ แม่นยำมากที่สุด ในบางกรณีอาจจำเป็นต้อง ใช้เครื่องมือที่หลากหลายวัดในประเด็น เดียวกันเพราะเครื่องมือหนึ่งอาจมีข้อเสียซึ่ง อีกเครื่องมือหนึ่งสามารทดแทนได้

5.5) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection) อาจมีประเด็นเรื่องความลับในขณะเก็บ รวบรวมข้อมูล การติดต่อประสานงาน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดี หรือการเข้าถึง แหล่งข้อมูลที่ดีเพียงพอที่จะให้การ ประเมินผลนั้นสามารถประเมินได้อย่างตรง ประเด็น

5.6) การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม (Choice of statistics) ผู้อ่านและใช้ประโยชน์จากการประเมินผลมักจะไม่สันทัด สถิติที่ซับซ้อนที่ผู้ประเมินใช้ในการประเมินผล ดังนั้นการ นำเสนอสถิติที่เหมาะสมในรูปแบบที่คนทั่วไปที่ไม่ใช่นัก สถิติสามารถเข้าใจได้โดยตลอดจะช่วยให้ผลงานการ ประเมินที่ทำขึ้นมีความน่าสนใจ น่าติดตาม และเข้าใจได้ โดยง่าย อยากไรก็ตามหากผู้ประเมินมีความจำเป็นที่ จะต้องใช้สถิติขึ้นสูงก็ควรที่จะมีวิธีการนำเสนอที่ทำให้ง่าย ขึ้น (Simplify) เพื่อให้การประเมินผลถูกนำไปใช้ได้อย่าง สะดวก

5.7) โครงร่างของรายงานการประเมินฉบับสมบูรณ์ (Final report) ในขั้นตอนของการวางแผนหากผู้ประเมินจะ สามารถวางโครงร่วงการประเมินผลในรายงานการ ประเมินผลฉบับสมบูรณ์ได้นั้นจะเป็นการวางผนการ ประเมินผลที่ดีมากที่สุด เพราะจะทำให้ผู้ประเมินเห็น ภาพรวมของการประเมินออกมาคร่าวๆ ก่อนที่จะปรับปรุง แก้ไขได้ทันในขั้นตอนของการประเมินผล

6. การนำเสนอข้อเสนอในการประเมินโครงการ (Present a written proposal) หลังจากการทบทวนวรรณกกรมและวางแผนเกี่ยวกับวิธีการและ รูปแบบที่ต่างๆ ในขั้นตอนที่ 5 แล้ว ผู้ประเมินควรพร้อมที่ จะเตรียมตัวในการเขียนข้อเสนอในการประเมินผลโครงการ เพื่อให้เห็นภาพรวมว่าผู้ประเมินและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ การประเมินผลทุกส่วนได้เห็นพ้องต้องกันกับแนวทาง เบื้องต้นของการประเมินผลแล้ว ซึ่งจะประกอบไปด้วย วัตถุประสงค์และเป้าหมายการประเมิน กรอบแนวความคิดที่ จะถูกใช้ในการประเมิน วิธีการประเมิน