แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการให้บริการด้านสุขภาพแก่แรงงานต่างด้าวและเหยื่อการค้ามนุษย์สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหน่วยบริการ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2561 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ ประจำปี 2561 (TIP Report 2018) ประเทศไทย ได้รับการจัดอันดับ Tier 2 (เช่นเดียวกับ กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย สิงคโปร์)
พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
คำนิยาม “การค้ามนุษย์” 07/08/56 คำนิยาม “การค้ามนุษย์” หมายถึง การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการ ค้าประเวณี การผลิต หรือการเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนมาเป็นทาส การนำคนมาขอทาน การบังคับใช้แรงงาน หรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า หรือการอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม (มาตรา 6 ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551) ให้ภาพรวมโดยย่อของงานนำเสนอ อธิบายโฟกัสหลักของงานนำเสนอและเหตุใดงานนำเสนอนี้จึงมีความสำคัญ แนะนำหัวข้อหลักแต่ละหัวข้อ เมื่อต้องการให้แนวทางแก่ผู้ฟัง คุณสามารถ เล่นภาพนิ่งของภาพรวมนี้ ซ้ำได้ตลอดทั้งการนำเสนอ โดยเน้นหัวข้อเฉพาะที่คุณจะอภิปรายถัดไป ศูนย์ประชาบดี 1300
วิธีการ การค้ามนุษย์ วัตถุประสงค์ ลักษณะ การกระทำ ข่มขู่ ค้าประเวณี 07/08/56 ลักษณะ การกระทำ วิธีการ วัตถุประสงค์ จัดหา ซื้อ ขาย จำหน่าย พามาจาก ส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยว กักขัง จัดให้อยู่อาศัย รับไว้ ข่มขู่ ใช้กำลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใช้อำนาจโดยมิชอบ โดยให้เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นกับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลฯ ค้าประเวณี ผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสิ่งลามก แสวงหาประโยชน์ทางเพศ ในรูปแบบอื่น เอาลงเป็นทาส ขอทาน บังคับใช้แรงงานหรือบริการ บังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า การค้ามนุษย์ ศูนย์ประชาบดี 1300
สำหรับ ผู้ใหญ่ สำหรับ “เด็ก” “ผู้ใหญ่” (อายุ 18 ปี ขึ้นไป) ถูกกระทำ ต้องมี 3 องค์ประกอบ คือ 1.การกระทำ 2.วิธีการ 3.เพื่อแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ “เด็ก” ( อายุต่ำกว่า18 ปี ) ถูกกระทำ ต้องมี 2 องค์ประกอบ คือ 1.การกระทำ 2.เพื่อแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ
8. การบังคับใช้แรงงาน 1.แสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณี 2.การผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลามก 8. การบังคับใช้แรงงาน 3.การแสวงหาประโยชน์ทางเพศรูปแบบอื่น แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ หมายถึง 7. การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า 4.การเอาคนลงเป็นทาส 6. การใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคลไม่ว่าบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม 5. การนำคนมาขอทาน
สถานประกอบกิจการ โรงงาน และยานพาหนะที่อยู่ภายใต้บังคับของมาตรการฯ (1) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ (2) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (3) อาคารที่พักอาศัยในเชิงพาณิชย์ประเภทหอพัก อาคารชุด หรือเกสต์เฮาส์ (Guest House) ที่ให้ผู้อื่นเช่า (4) โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (5) เรือประมงต่างประเทศที่เข้ามาในน่านน้ำไทย หรือเรือตามกฎหมายว่าด้วย การเดินเรือในน่านน้ำไทย ยกเว้นเรือที่เดินด้วยกรรเชียง แจว หรือพาย
เจ้าของ ผู้ครอบครอง หรือผู้ดำเนินกิจการ ต้องปฏิบัติ (1) ชี้แจงหรือจัดให้มีการอบรมลูกจ้างของตนเกี่ยวกับการคุ้มครองสวัสดิภาพ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ อย่างน้อยปีละครั้ง (2) อนุญาตให้ใช้เครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างลูกจ้างกับบุคคลภายนอก (3) ตรวจสอบและให้ความช่วยเหลือ ในกรณีที่ลูกจ้างกล่าวอ้างว่ามีการใช้กำลัง บังคับหรือทำร้ายเพื่อกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ (4) อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปในสถานประกอบ กิจการ โรงงานหรือยานพาหนะ เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการค้ามนุษย์ หรือ เพื่อพบและช่วยบุคคลที่ตกเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ (5) ควบคุม สอดส่อง และดูแล ไม่ให้มีการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ในหรือ บริเวณสถานประกอบกิจการ โรงงาน หรือยานพาหนะ (6) แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อพบว่ามีการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ หรือ ให้ข้อมูลข่าวสาร หรือพฤติการณ์ต่าง ๆ ของบุคคลซึ่งมีเหตุอันควรสงสัยหรือควรเชื่อได้ ว่าจะกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน ยานพาหนะ
ข้อบ่งชี้ของการค้ามนุษย์ แรงงานเป็นคนเปราะบาง เช่น พิการ หรือเป็นกลุ่มเสี่ยง มีการหลอกลวง ถูกจำกัดเสรีภาพในการใช้ชีวิตประจำวัน มีการติดลูกกรงหน้าต่าง ล็อคประตู กั้นรั้วสูงในที่พัก มีคนเฝ้าระวังทางเข้า – ออก มีกล้องวงจรปิดตรวจตรา ห้ามออก นอกสถานที่ทำงานหรือที่พักอาศัย ให้คนคอยติดตาม ถูกโดดเดี่ยวจากสังคม เช่น อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ถูกยึดเครื่องมือสื่อสาร เป็นต้น มีการใช้ความรุนแรงต่อร่างกาย รวมถึงการบังคับให้ใช้ยาเสพติดหรือแอลกอฮอล์ บังคับให้มี เพศสัมพันธ์กับนายจ้าง บังคับให้ต้องทำงานอื่นนอกเหนือไปจากข้อตกลง เป็นต้น
มีการใช้ความรุนแรงทางร่างกายหรือการทารุณทางเพศ หรือขู่ว่าจะใช้ความ รุนแรง อาจทุบตีหรือละเมิดทางเพศ บังคับให้ใช้ยาเสพติดหรือเครื่องดื่มที่มี ส่วนผสมของแอลกอฮอล์เพื่อควบคุมคนงาน การบังคับให้ยอมรับในงานที่ไม่ได้ เป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงตั้งแต่เริ่มแรก
มีการขู่เข็ญ ข่มขู่ เช่น การไม่ให้ใช้ที่พัก การขับไล่สมาชิกในครอบครัว การตัดสิทธิ บางอย่าง การเหยียดหยาม มีการยึดเอกสารประจำตัว (เจตนาเพื่อเป็นเงื่อนไขในการบีบบังคับให้ทำงาน) ไม่จ่ายค่าจ้าง แรงงานขัดหนี้ หรือการเอาภาระหนี้สินมาเป็นข้อผูกมัดให้ต้องทำงาน สภาพการทำงานและสภาพการดำรงชีพที่เลวร้าย ชั่วโมงการทำงาน/ทำงานล่วงเวลาที่ยาวนาน (โดยลูกจ้างปฏิเสธไม่ได้)
ศปคม.จังหวัด สวัสดิการ
ทีมสหวิชาชีพ - กลุ่มบุคคลที่มีความรู้ มีทักษะ ความสามารถเฉพาะด้านที่แตกต่างกันมาทำงานร่วมกัน - เพื่อมุ่งสู่การแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างมีระบบ - เป็นกระบวนการอยู่บนพื้นฐานของเป้าหมายและวัตถุประสงค์เดียวกัน - มีการประเมินสภาพปัญหา วางแผน และปฏิบัติงานร่วมกัน ติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง - มีความรับผิดชอบร่วมกันตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ
หลักปฏิบัติ
กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 3 24 ชม. ผู้เสียหาย (คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย) กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน 1 2 3 หน่วยให้บริการ 1.แจ้งด้วยตนเอง 3 ภายใน 24 ชม. คัดแยกผู้เสียหาย 2. โทร 1300 อาจจะเป็นผู้เสียหาย ติดตาม/ ประเมินผล พม. 4 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion คุ้มครองชั่วคราว 24 ชม. และขยายเวลาอีก 7 วัน สตช. หมายเหตุ : ในกรณีที่เป็นความสมัครใจของเด็ก พ่อแม่/ผู้ปกครอง ต้อง “เคารพการตัดสินใจของเด็ก” 3 24 ชม. รายงานความคืบหน้าทุก 10 วัน (นับจากวันรับเรื่อง) ไม่ใช่ผู้เสียหาย ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 พม. 3 พามาที่บ้านพักเด็กและครอบครัวในกรณีที่ผู้เสียหายยังไม่พร้อมให้ปากคำ หรือยังไม่มีที่พัก คนไทย 3 ไม่ใช่คนไทย ส่ง พงส. ดำเนินการตาม กม. ที่เกี่ยวข้อง 16
คำนิยาม “การใช้แรงงานเด็ก” 07/08/56 คำนิยาม “การใช้แรงงานเด็ก” หมายถึง ลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป แต่ยังไม่ถึง 18 ปี ส่วนเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปีลงมา ห้ามนายจ้าง จ้างเป็นลูกจ้างโดยเด็ดขาด ผู้ฝ่าฝืนจะมีโทษตามมาตรา 148 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ที่กำหนดโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ส่วนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ถือว่าไม่ใช่ แรงงานเด็ก ให้ภาพรวมโดยย่อของงานนำเสนอ อธิบายโฟกัสหลักของงานนำเสนอและเหตุใดงานนำเสนอนี้จึงมีความสำคัญ แนะนำหัวข้อหลักแต่ละหัวข้อ เมื่อต้องการให้แนวทางแก่ผู้ฟัง คุณสามารถ เล่นภาพนิ่งของภาพรวมนี้ ซ้ำได้ตลอดทั้งการนำเสนอ โดยเน้นหัวข้อเฉพาะที่คุณจะอภิปรายถัดไป ศูนย์ประชาบดี 1300
ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีแรงงานเด็ก 2 3 3 คัดกรอง ประเมินสภาพปัญหา (กรณีแรงงานเด็กทั่วไป ระยะเวลาในการตรวจสอบข้อเท็จจริง จนออกคำสั่งให้นายจ้างปฏิบัติ ต้องดำเนินการภายใน 30 วัน / การใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย ดำเนินการทันที ) และคุ้มครองสวัสดิภาพโดยเร็วที่สุด รง. และทีมสหวิชาชีพ การแพทย์ (สธ.) การตรวจนิติเวช/ การให้การรักษา/บำบัดฟื้นฟูทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยเร็วที่สุด (ไม่เกิน 7 วัน) 1 2 1.แจ้งด้วยตนเอง สอบ ข้อเท็จจริง 2. โทร 1300 ภายใน 24 ชม. สังคม ให้บริการสังคมสงเคราะห์ (พม.) จัดหาที่พักชั่วคราว (พม.) ให้การดูแลด้านการศึกษา (ศธ./ พม.) ฝึกอาชีพ/ จัดหางาน (รง./ พม.) 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion หน่วยให้บริการ สำนักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน (รง.) / กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ 10 พื้นที่/ สำนักคุ้มครองแรงงาน 1 หน่วย สถานที่ที่เชื่อว่ามีการใช้ แรงงานเด็ก (โรงงาน ไร่นา บ้าน ฯลฯ) คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย ภายใน 3 เดือน – 2 ปี ติดตาม/ ประเมินผล หมายเหตุ : ในกรณีที่เป็นความสมัครใจของเด็ก พ่อแม่/ผู้ปกครอง ต้อง “เคารพการตัดสินใจของเด็ก” กรณีประสบปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมร่วมด้วยให้เข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือการตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 4 พม. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เรียกร้องค่าแรง/ดำเนินคดีกับนายจ้างผู้ใช้แรงงาน/ ควบคุมสถานประกอบการ / คุ้มครองสิทธิอื่นๆตามกฎหมาย/ ติดตามและตรวจสอบ สปก. ที่ใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย รง. สตช. ยธ. อัยการ 5 ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ กรณีการค้ามนุษย์ เข้าสู่กระบวนการให้การช่วยเหลือ ผู้ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ ตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2553 พม. 18 ตั้งแต่ 7 วัน – 2 ปี
ขอบพระคุณคะ