นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
Advertisements

แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
เขตสุขภาพ ที่11.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
By Personal Information Management
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
การขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับสำนัก/กองวิชาการ นายธวัชชัย บุญเกิด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองแผนงาน กรมอนามัย

การเฝ้าระวัง หมายถึง การดำเนินงานที่เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยการกำหนดและรวบรวมข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้อง นำเอาข้อมูลเหล่านั้นมาตรวจสอบความถูกต้องเพื่อให้รู้ข้อจำกัด วิเคราะห์ความหมายและสังเคราะห์เป็นข้อความรู้ที่จะนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงานทางสาธารณสุข

ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบและการจัดการ ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม หมายถึง ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (A2 I M) ประกอบด้วย Assessment (การประเมิน) Advocacy (การเป็นปากเป็นเสียง) Intervention (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม) M คือ Management and Governance หมายถึง การบริหารและการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในระดับต่างๆ

ตัวชี้วัดการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม หมายถึง รายการตัวชี้วัดที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ จัดลำดับความสำคัญ คัดกรอง คัดเลือก จากสำนัก/ กองวิชาการ 6 Cluster คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาวิชาการกรมอนามัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จำนวน 30 ตัวชี้วัด 2 3 1 9 12 3

วิธีการจัดเก็บข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย สำนัก/ กองวิชาการ ที่รับผิดชอบตัวชี้วัด การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม วิธีการจัดเก็บข้อมูล หน่วยงานสำนัก/ กองวิชาการ ที่รับผิดชอบตัวชี้วัดการเฝ้าระวังฯ รายงานข้อมูลตามขั้นตอนการดำเนินงาน ให้กองแผนงาน

ระยะเวลาประเมินผล ประเมินผลตามความถี่ของตัวชี้วัด ราย 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 12เดือน - กรมอนามัยประเมินผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองฯ 2 รอบ คือ รอบ 1 - 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) รอบ 2 - 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560)

เกณฑ์การประเมิน กรณีตัวชี้วัดเชิงขั้นตอน สำหรับตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูลราย 1 และ 3 เดือน ระดับขั้นความสำเร็จ รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน 5 เดือนแรก คะแนน 5 เดือนหลัง ขั้นตอนที่ 1 / 0.5   ขั้นตอนที่ 2 1 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 1.5 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 คะแนนรวม 5 คะแนน

เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) กรณีตัวชี้วัดเชิงขั้นตอน สำหรับตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูลราย 6 เดือนและ 1 ปี ระดับขั้นความสำเร็จ รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน 5 เดือนแรก คะแนน 5 เดือนหลัง ขั้นตอนที่ 1 / 1   ขั้นตอนที่ 2 0.5 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 1.5 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 2 คะแนนรวม 5 คะแนน

แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอน แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 กำหนดผู้รับผิดชอบงานการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานอย่างชัดเจน ขั้นตอนที่ 2 จัดทำรายละเอียด (Template) รายการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังฯ ตามบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน พร้อมข้อมูลให้ครบถ้วน จัดทำแผนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังฯ ของหน่วยงาน ที่ครอบคลุมการสำรวจ จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีรายละเอียดระดับกิจกรรม และระยะเวลาในระดับสัปดาห์ โดยติดต่อประสานงานศูนย์อนามัย และฝ่ายเลขาคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกรมอนามัย ขั้นตอนที่ 3 จัดทำข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) และข้อมูลย้อนหลัง 10 ปีตามรายการตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบ  

ขั้นตอน ประกอบด้วย (ต่อ) แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ขั้นตอนที่ 4 สำรวจ จัดเก็บ รวบรวม ข้อมูล อย่างเป็นระบบ ครบถ้วน น่าเชื่อถือ ตามระยะเวลาและรายละเอียดที่จัดทำไว้ในขั้นตอนที่ 2 (ยกเว้นข้อมูลที่มีการรายงานในระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข) ขั้นตอนที่ 5 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 3 มา วิเคราะห์ ประเมิน สถานะหรือสภาวะของบุคคล ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมตามบทบาทหน้าที่หน่วยงานในระดับเขตสุขภาพ โดยแบ่งกลุ่ม (Classify) ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มปกติ (Normal) 2. กลุ่มเสี่ยง (Risk) และ3. กลุ่มป่วย (Ill) สรุปรายงานผลและแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ให้กับคณะอนุกรรมการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และศูนย์อนามัยทุกศูนย์ ตามระยะเวลาที่กำหนด   ขั้นตอนที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน

Small Success กลไก รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน คณะอนุ กรรมการเฝ้าระวัง 1. มีการรายงานผลและแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ตัวชี้วัดที่มีความถี่ราย 1 และ3 เดือน ต่อคณะกรรมการพัฒนาวิชาการ 1. มีการรายงานผลและแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ตัวชี้วัดที่มีความถี่ราย 1, 3 และ6 เดือน ให้คณะกรรมการพัฒนาวิชาการ 1. มีการรายงานผลและแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ครบทุกตัวชี้วัด ให้คณะกรรมการพัฒนาวิชาการ

หน่วยงานสำนัก/ กองวิชาการ Small Success (ต่อ) กลไก รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน หน่วยงานสำนัก/ กองวิชาการ 1. มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบงานการเฝ้าฯ อย่างชัดเจน 2. จัดทำรายละเอียด (Template) รายการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังฯ ที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำแผนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน ที่ครอบคลุมการสำรวจ จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีรายละเอียดระดับกิจกรรม และระยะเวลาในระดับสัปดาห์ 4. จัดทำข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) และข้อมูลย้อนหลังตามรายการตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบ 5. มีข้อมูลและรายงานผลการวิเคราะห์ รวมทั้งแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ของตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบตามความถี่ 1 และ3 เดือน ให้ Cluster ที่เกี่ยวข้อง และ คณะอนุกรรมการเฝ้าระวัง 1. มีข้อมูลและรายงานผลการวิเคราะห์ รวมทั้งแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ของตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบตามความถี่ 1, 3 และ 6 เดือน ให้ Cluster ที่เกี่ยวข้อง และ คณะอนุกรรมการ เฝ้าระวัง 2. รายงานการถอดบทเรียน ที่สามารถนำไปปรับปรุงเทคนิคการทำงาน 1. มีข้อมูลและรายงานผลการวิเคราะห์ รวมทั้งแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ของตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบตามความถี่ 1, 3 และ 6 เดือน ให้ Cluster ที่เกี่ยวข้อง และคณะอนุกรรมการเฝ้าระวัง   1. มีข้อมูลและรายงานผลการวิเคราะห์ รวมทั้งแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการ ของตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบตามความถี่ 1, 3 และ 6 เดือน ให้ Cluster ที่เกี่ยวข้อง และ คณะอนุกรรมการเฝ้าระวัง

ประเมินจากผลงาน/ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานต่างๆ ดังนี้ วิธีการประเมินผล ขั้นตอนการดำเนินงาน ประเมินจากผลงาน/ข้อมูล/เอกสาร/หลักฐานต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 - มีคำสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบงานการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 - มีเอกสารรายละเอียด (Template) รายการข้อมูลตัวชี้วัด - มีแผนการดำเนินงาน การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานมีความชัดเจน ถูกต้องตามที่ระบุไว้ตามแนวทางการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3 - มีเอกสารข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) และข้อมูลย้อนหลัง ขั้นตอนที่ 4 - มีข้อมูลตัวชี้วัดที่ต้องสำรวจ จัดเก็บ ตรงตามความถี่ที่ต้องจัดเก็บในระบบรายงานข้อมูลตัวชี้วัด - มีรายงานการวิเคราะห์ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลตัวชี้วัดการเฝ้าระวังที่ได้จากระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ขั้นตอนที่ 5 - มีรายงานผลและแสดงถึงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (Intervention) ที่ใช้ดำเนินการในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด ตามความถี่ของแต่ละตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 6 - มีรายงานผลการถอดบทเรียนที่มีสาระสำคัญ ได้แก่ แนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานต่อไป ฯลฯ