อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
Advertisements

ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
เขตสุขภาพ ที่11.
ผลการดำเนินงานในภาพรวมของ โครงการ TO BE NUMBER ONE ประจำปี 2559
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
สรุปผลการตรวจราชการฯ
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 25 มกราคม 2562

เกณฑ์การประเมิน : ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2561 - กุมภาพันธ์ 2562) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 1 Assessment : มีระบบบริหารจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ปัญหา 1.1 วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาการดำเนินงานเพื่อลดการตายมารดาไทย กำหนดประเด็นการดำเนินงานหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงคุณภาพ ประสิทธิภาพ ที่สามารถระบุถึงปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยเสริมที่ทำให้บรรลุเป้าหมาย พร้อมทั้งนำผลการวิเคราะห์มาพิจารณาในการออกแบบกระบวนการทำงาน (0.50 คะแนน) 1.2 มีระบบการจัดเก็บและติดตามข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ (0.10 คะแนน) 1.3 มีการประเมินผลมาตรการและวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงมาตรการทุก 3 เดือน (0.30 คะแนน) 1.4 มีแผนปฏิบัติการ/แนวทางปฏิบัติ (Action plan) ที่สอดคล้องกับปัญหาที่วิเคราะห์ข้างต้นได้ (0.10 คะแนน)   - ข้อมูลและสถานการณ์การดำเนินงานแม่ตาย (Baseline data) อย่างน้อยย้อนหลัง 3 ปีและข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ - มีบทวิเคราะห์ Gap และผลกระทบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในเชิงรุก - แสดงไฟล์ภาพข้อมูลบนระบบเว็บไซต์ของหน่วยงานและเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับระบบ DOH Dashboard - มีผลการวิเคราะห์/ทบทวนมาตรการทุก 3 เดือน - แผนการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับปัญหาที่วิเคราะห์ข้างต้นได้ เพื่อลดการตายมารดา 2 Advocacy & Intervention : มีข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการที่มีประสิทธิภาพรองรับการแก้ปัญหา 2.1 มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการลดการตายมารดา ระดับประเทศ (0.20 คะแนน) 2.2 มีมาตรการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ (0.50 คะแนน) 2.3 มาตรการมีความสอดคล้องกับบทบาทใหม่(Region Lead) (0.15 คะแนน) 2.4 มี Key Message และเนื้อหาสร้าง HLปชช. (0.15 คะแนน) - มีข้อเสนอเชิงนโยบาย /มาตรการ ในการลดการตายมารดา - มีการถอดบทเรียน Best Practice ในพื้นที่ - รายงานผลสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการ - Flow chart ที่แสดงให้เห็นถึงบทบาทใหม่ในการดำเนินงาน - ความสอดคล้องของมาตรการและบทบาทศูนย์อนามัย - มี Key Message และเนื้อหาสร้าง HL ปชช.ส่งศูนย์สื่อ

แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 3 Implementation : การขับเคลื่อนมาตรการ 3.1 นำข้อเสนอเชิงนโยบาย เข้าสู่เวทีกรรมการระดับกระทรวง/กรม ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานลงสู่พื้นที่ (0.20 คะแนน) 3.2 ขับเคลื่อนมาตรการ ลงสู่พื้นที่ กำกับ ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน (0.50 คะแนน) 3.3 มีการขับเคลื่อน HL ไปสู่ปชช. (0.15 คะแนน)  3.4 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ รวมถึงใช้ในการติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการทำงานอย่างมีคุณภาพ (0.15 คะแนน) 1 - มีหลักฐาน ที่แสดงถึงการนำเสนอเข้าสู่เวทีระดับต่างๆ เช่น หนังสือราชการ สรุปรายงาน - รายงานการขับเคลื่อนมาตรการ กำกับ ติดตาม สนับสนุนการประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก - รายงานการอบรมPNC - คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ - มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้เพื่อสร้างการรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ - One page สรุปสาระสำคัญที่แสดงถึงการขับเคลื่อน HL ไปสู่ประชาชน - แสดงให้เห็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เช่น แอพพลิเคชั่น/โซเชียลมีเดีย ฯลฯ 4 Output - ร้อยละ 45 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อน หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (0.30 คะแนน) - ร้อยละ 40 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ (0.40 คะแนน) - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 20 (0.30 คะแนน)   1. ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี 2. ผลลัพธ์ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกิน ร้อยละ 20 ค่าคะแนน .10 .15 .20 .50 .30 ผลลัพธ์ 25 30 35 40 45 ค่าคะแนน .05 .10 .20 .30 .40 ผลลัพธ์ 20 25 30 35 40 ค่าคะแนน .10 .15 .20 .25 .30 ผลลัพธ์ 24 23 22 21 20

แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 5 Best Outcome อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 1 รายงานการตายมารดาระดับประเทศ ปี 2562 คะแนนรวม ศูนย์อนามัยที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 MMR   อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เขต 12 อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 38 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน