คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
Introduction to Information Techonology Fundamental วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ : Information Technology Fundamental.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ครูเตือนใจ เอื้ออารีมิตร ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนสิริรัตนาธร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การบริหารเชิงกลยุทธ์
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ปีการศึกษา 2559
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
Hilda  Taba  (ทาบา).
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
Click to edit Master title style
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินการเรียนการสอน
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
Object-Oriented Analysis and Design
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
การวัดและประเมินผลการศึกษา
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ รายวิชา IS 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 “ขั้นการออกแบบ”

ขั้นการออกแบบ 3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กับการออกแบบระบบการสอน 3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กับการออกแบบระบบการสอน 3.2 การจัดทำผังแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน 3.3 การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กับการออกแบบระบบการสอน - การเรียนรู้คืออะไร เกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบ การสอนอย่างไร - พิสัยการเรียนรู้ (Domains of Learning) ทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และ ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) แตกต่างกันอย่างไร

3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กับการออกแบบระบบการสอน (ต่อ) - นักออกแบบสื่อการสอนจะแปลงงานไปสู่ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมอย่างไร - การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมมีวิธีการอย่างไร

การเรียนรู้คืออะไร - การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมหรือระดับปัญญาที่ เป็นผลมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ - การเรียนรู้เป็นภาวะการณ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน (Internal Phenomenon) - บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เป็นภาวะการณ์ภายนอก (External Phenomenon) ที่ได้รับการออกแบบโดยการกำหนดเงื่อนไขให้เกิดการเรียนรู้ - เป้าหมายของนักออกแบบและพัฒนาบทเรียนคือ การวางแผนเกี่ยวกับประสบการณ์ที่จะทำให้ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมหรือระดับปัญญา

พิสัยการเรียนรู้ (Domains of Leaning) 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับ ด้านปัญญา สามารถแบ่งได้เป็น 6 ระดับ ได้แก่ - ความรู้ความจำ (Knowledge) - ความเข้าใจ (Comprehension) - การนำไปใช้ (Application) - การวิเคราะห์ (Analysis) - การสังเคราะห์ (Synthesis) และ - การประเมินค่า (Evaluation)

พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ประเภทการเรียนรู้ ตัวอย่างของพฤติกรรม 6. Evaluation พิจารณา เปรียบเทียบ โต้แย้ง 5. Synthesis รวบรวม เขียน วางแผน ออกแบบ 4. Analysis แยกแยะ จัดหมวดหมู่ 3. Application ปรับใช้ ดัดแปลง 2. Comprehension สรุป ตีความ 1. Knowledge จำ ระลึก ระบุ

พิสัยการเรียนรู้ (Domains of Leaning) (ต่อ) 2. จิตพิสัย (Affective Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับด้านอารมณ์ ความรัก ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ ความสนใจ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับได้แก่ - การรับหรือให้ความสนใจ (Receiving) - การตอบสนอง (Responding) - การสร้างค่านิยม (Valuing) - การจัดระบบค่านิยม (Organization) และ - การสร้างคุณลักษณะตามค่านิยม (Characterization by Value or Value Set)

จิตพิสัย (Affective Domain) ประเภทการเรียนรู้ ตัวอย่างของพฤติกรรม 5. Characterization แก้ปัญหา จัดการ หลีกเลี่ยง ยืนยัน by Value or Value Set 4. Organization ไต่สวน อภิปราย 3. Valuing โต้แย้ง สนับสนุน 2. Responding เห็นชอบ อาสา ใช้เวลาในกิจกรรม 1. Receiving ฟัง แยกแยะ

พิสัยการเรียนรู้ (Domains of Leaning) (ต่อ) 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับ ด้านทักษะการเคลื่อนไหว มีลำดับทักษะจากง่ายไปสู่ทักษะที่ซับซ้อน 6 ระดับได้แก่ - การเคลื่อนไหวที่เป็นการตอบสนองของร่างกาย (Reflex movements) - การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (Basic fundamental movement) - การรับรู้ (Perceptual) - กิจกรรมทางกายภาพ (Physical activities) - การเคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะ (Skilled movements)

ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 5. Skilled movements วิ่งแข่ง การเล่นกีฬาทุกชนิด การเต้นรำ 4. Physical activities วิ่งออกกำลังกาย ว่ายน้ำ 3. Perceptual กระโดดเชือก ต่อย จับ 2. Basic fundamental เดิน วิ่ง ผลัก บิดตัว movement 1. Reflex movements ยืดกล้ามเนื้อ

นักออกแบบและพัฒนาบทเรียน ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง คำถามสำคัญ ??? ทำไม นักออกแบบและพัฒนาบทเรียน ต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง พิสัยการเรียนรู้

INPUT ACTION OUTPUT - การเขียน Input/Action/Output Diagram 3.2 การจัดทำผังแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน (INPUT/ACTION/OUTPUT Diagram) INPUT ACTION OUTPUT - การเขียน Input/Action/Output Diagram มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นลักษณะของงานที่ปฏิบัติได้ และเห็นผลของงานจากการปฏิบัติดังกล่าว

= = = INPUT ACTION OUTPUT คืองาน กิจกรรม หรือ เงื่อนไขที่กำหนดให้ผู้เรียนกระทำ (นำมาจาก Task Inventory) คือการกระทำของผู้เรียนที่เกิดจากการวาง เงื่อนไขใน INPUT (กำหนดจากพิสัยการเรียนรู้ : ดู อ่าน ทำ ฯลฯ) ACTION = OUTPUT = ผลที่ได้รับจากการปฏิบัติของผู้เรียน (ACTION) และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ (INPUT) สิ่งที่ได้รับคือเป้าหมายทางการสอน (Instructional Goal)

ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวอย่าง INPUT / ACTION / OUTPUT Diagram INPUT ACTION OUTPUT ความรู้เกียวกับการ เตรียมตัวก่อนไป รับประทานอาหาร ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ การเตรียมตัวก่อนไป รับประทานอาหาร มีความรู้เกี่ยวกับการเตรียมตัว ก่อนไปรับประทานอาหารว่าง ประกอบด้วย 5 เรื่อง ดังนี้ 1. อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร 2. ตำแหน่งการจัดวาง 3. ลำดับการใช้อุปกรณ์และ ลำดับอาหารเสิร์ฟ 4. วิธีการใช้อุปกรณ์ 5. มารยาทในการรับประทาน อาหาร

ความรู้เกียวกับ อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร ศึกษาข้อมูลเกียวกับ อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร มีความรู้เกียวกับอุปกรณ์ บนโต๊ะอาหารว่างประกอบด้วย 6 ชนิดหลัก ดังนี้ 1. ช้อนและส้อม 2. มีด 3. จาน 4. แก้ว 5. ผ้าเช็ดมือ 6. อุปกรณ์อื่นๆ ความรู้เกียวกับ ช้อนและส้อม ศึกษาช้อนและส้อม มีความรู้ว่าช้อนและส้อม มีทั้งหมด 12 ประเภท ดังนี้ 1. ช้อนซุป 7. ช้อนสลัดหรือ 2. ช้อนหวาน ส้อม cocktail 3. ช้อนชา กาแฟ 8. ส้อมใหญ่ 4. ช้อนเล็ก 9. ส้อมอาหารทะเล 5. ช้อนคาว 10. ส้อมกุ้ง 6. ช้อนเสิร์ฟ 11. ส้อมหอย 12. ส้อมเสิร์ฟ

ความรู้เกียวกับ ช้อนซุป ศึกษาช้อนซุป มีความรู้ว่าช้อนซุปมี 2 ประเภท ดังนี้ 1. ช้อนซุปใส 2. ช้อนซุปข้น 1. ซุปในถ้วย 2. ถ้วยซุป 3. จานรองซุป 4. ช้อนซุป รับประทานซุป สามารถรับประทานซุปด้วย ช้อนชุป โดยการตักซุป ออกนอกตัว จิบซุปข้างๆ ช้อน และวางช้อนซุปไว้ที่จานรองซุป เมื่อรับประทานเสร็จแล้ว

1. ขนมปัง 2. เนย 3. มีดปาด รับประทานขนมปัง สามารถรับประทานขนมปัง ได้ตามขั้นตอนดังนี้ 1. ใช้มือบิขนมปังเป็นชิ้น พอดีคำ 2. หยิบมีดปาดเนยทาเนย บนชิ้นขนมปังที่บิไว้ 3. วางมีดปาดเนยไว้ที่เดิม หลังรับประทานเสร็จ 4. สามารถรับประทานอีกเมื่อไร ก็ได้

1. สลัด 2. มีดและส้อม รับประทานสลัด สามารถรับประทานสลัดได้ ตามขั้นตอนดังนี้ 1. หยิบมีดและส้อมคู่ที่อยู่ นอกสุด 2. ใช้มือขวาถือมีด มือซ้าย ถือส้อม 3. หั่นโดยจับมีดให้ปลายด้าม อยู่กลางฝ่ามือและนิ้วชี้ กดลงไปบนสัน 4. จิ้มอาหารโดยคว่ำส้อมเข้า ปากซึ่งจะใช้มือซ้ายใน การจิ้ม 5. ใช้เสร็จแล้วรวบมีดและส้อม ไว้บนจาน โดยหันไปทาง เข็มนาฬิกาชี้เลขสิบ

3.3 การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.3.1 การแปลงเป้าหมายทางการสอน (Instructional Goal) เป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) 3.3.2 การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในรูปแบบที่วัดได้

3.3.1 การแปลงเป้าหมายทางการสอน เป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1) กำหนดเป้าหมายการสอน (Instructional Goal) โดยนำข้อมูลมาจาก Output 2) กำหนดผลการเรียนรู้ที่สามารถสังเกตและวัดได้ (Observable and Measurable Learning Outcome) 3) นำผลการเรียนรู้ที่สามารถสังเกตและวัดได้ไปเขียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในรูป ABCD format โดยแยกออกเป็น TPO และ EO

ตัวอย่าง การกำหนดเป้าหมายการสอน (Instructional Goal) และผลการเรียนรู้ที่สามารถสังเกตและวัดผลได้ (Observable and Measurable Learning Outcome)

Instructional Observable and Measurable Goals Learning Outcomes สามารถระบุลักษณะของ ช้อนซุปได้อย่างถูกต้อง บอกได้ว่าช้อนซุปมีลักษณะเป็นช้อนกลม และมีความลึกกว่าช้อนทั่วไป จุ 2 – 2.5 ช้อนชา สามารถระบุความแตกต่าง ระหว่างช้อนซุปใสกับช้อนซุปข้น บอกได้ว่าช้อนซุปใสจะมีลักษณะเรียวยาวกว่า ช้อนซุปข้น สามารถระบุลักษณะของช้อนหวาน ได้อย่างถูกต้อง บอกได้ว่าช้อนหวานมีลักษณะเหมือน ช้อนคาวของคนไทย

Instructional Observable and Measurable Goals Learning Outcomes สามารถระบุความแตกต่างระหว่าง ช้อนชา, กาแฟ กับช้อนเล็กได้อย่าง ถูกต้อง บอกได้ว่าช้อนทั้งสองประเภทมีลักษณะ และการใช้งานเหมือนกันแต่ช้อนเล็ก จะมีความจุน้อยกว่าช้อนชา, กาแฟและ สั้นกว่าเล็กน้อย สามารถระบุได้ว่าช้อนชนิดใดที่ นิยมนำมาใช้เป็นช้อนกลาง บอกได้ว่าเป็นช้อนคาว สามารถระบุลักษณะของส้อมสลัด หรือส้อมค็อกเทลได้อย่างถูกต้อง บอกได้ว่าเป็นส้อม 3 ซี่ที่มีขนาดเล็ก

Instructional Observable and Measurable Goals Learning Outcomes สามารถระบุได้ว่าส้อมชนิดใดที่ นิยมนำมาใช้เป็นส้อมกลาง บอกได้ว่าเป็นส้อมใหญ่ บอกได้ว่ามีดคาวเป็นมีดที่มีความเพรียวและ หัวมนที่สุดปลายมีดมีลักษณะงอเล็กน้อย สามารถระบุลักษณะของมีดคาว ได้อย่างถูกต้อง สามารถระบุได้ว่ามีดชนิดใดที่มีไว้ สำหรับรับประทานเนื้อในมื้อค่ำ บอกได้ว่าเป็นมีดใหญ่

Instructional Observable and Measurable Goals Learning Outcomes สามารถระบุได้ว่ามีดชนิดใดที่มีไว้ สำหรับรับประทานปลา อาหารทะเล และอาหารกลางวัน บอกได้ว่าเป็นมีดกลาง สามารถระบุลักษณะของมีดปลาและ มีดปาดเนยได้ บอกได้ว่ามีดทั้งคู่เป็นมีดเล็กไม่มีคม อาจมีลักษณะตรงหรืองอกระดกขึ้น คล้ายที่แซะขนม สามารถระบุลักษณะของมีดสเต็ก ได้อย่างถูกต้อง บอกได้ว่ามีดสเต็กเป็นมีดที่มีความยาวเรียว และมีความแหลมคมมากกว่ามีดชนิดอื่นๆ

Instructional Observable and Measurable Goals Learning Outcomes สามารถระบุความแตกต่าง ระหว่างจานสำหรับอาหารหลัก ในการเลี้ยงอาหารค่ำกับ อาหารกลางวัน บอกได้ว่าจานสำหรับอาหารหลักในการ เลี้ยงอาหารค่ำ มีขนาดใหญ่กว่าจาน สำหรับอาหารกลางวัน สามารถระบุความแตกต่าง ระหว่างแก้วแชมเปญกับแก้วไวน์ ได้อย่างถูกต้อง บอกได้ว่าแก้วไวน์มีความลึกและแคบกว่า แก้วแชมเปญ

1) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมคือข้อความที่บ่งบอก 3.3.2 การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในรูปแบบที่วัดได้ 1) วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมคือข้อความที่บ่งบอก พฤติกรรมของผู้เรียนที่ชี้ให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะหรือทัศนคติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 2) การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในรูปแบบที่วัดได้สามารถเขียนในรูป ABCD format

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในรูป ABCD format A = Audience (ผู้เรียน) B = Behavior (พฤติกรรมที่กระทำโดยผู้เรียน) C = Condition (เงื่อนไขที่กำหนดให้เกิดพฤติกรรม) D = Degree (ระดับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม)

วัตถุประสงค์ทางการสอน (มีความรู้หรือความสามารถ) สามารถบอกชื่อปลาที่ดีที่สุดสำหรับทำทอดมันปลา พฤติกรรมที่วัดและสังเกตได้ (ระบุ บอก อธิบาย เลือก หั่น) ระบุชื่อ “ปลากราย” วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อให้ชื่อปลา 4 ชื่อ (C) อาจารย์ชาวต่างชาติ ใน มทส. (A) สามารถเลือกชื่อ “ปลากราย” (B) ว่าเป็นปลาที่ดีที่สุดสำหรับใช้ทำทอดมันปลา (D)

กำหนด TPO/EO โดยการเขียนวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมในรูป ABCD format - TPO ย่อมาจากคำว่า Terminal Performance Objective หมายถึงวัตถุประสงค์ที่เป็นจุดหมายปลายทาง - EO ย่อมาจากคำว่า Enabling Objective หมายถึง วัตถุประสงค์ที่สนับสนุนให้เกิดวัตถุประสงค์ที่เป็นจุด หมายปลายทาง TPO กำหนดจาก Sub-tasks EO กำหนดจาก Sub-sub-tasks

- ตัวอย่าง เมื่อให้ดูภาพและชื่ออุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร นักศึกษามหาวิทยาลัย TPO 1: เมื่อให้ดูภาพและชื่ออุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่ออุปกรณ์บนโต๊ะอาหารที่กำหนด อธิบายลักษณะอุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร และบอกถึงความแตกต่าง ระหว่างอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม EO 1.1: เมื่อให้ภาพช้อนมา 6 ภาพ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุภาพช้อนซุปใสและช้อนซุปข้นได้อย่างถูกต้อง EO 1.2: เมื่อให้ชื่อช้อนซุปใสกับช้อนซุปข้น นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุความแตกต่างระหว่างลักษณะของ ช้อนซุปทั้งสองได้อย่างถูกต้อง

EO 1.3: เมื่อให้ชื่อช้อนมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อช้อนที่มีลักษณะเหมือนช้อนคาวได้อย่างถูกต้อง EO 1.4: เมื่อให้ชื่อช้อนชา กาแฟ กับช้อนเล็ก นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างช้อน ทั้งสองประเภทได้อย่างถูกต้อง EO 1.5: เมื่อให้ชื่อช้อนมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อช้อนที่นิยมนำมาใช้เป็นช้อนกลางได้อย่างถูกต้อง EO 1.6: เมื่อให้ชื่อส้อมสลัดหรือส้อมค็อกเทล นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายลักษณะของส้อมดังกล่าว ได้อย่างถูกต้อง

EO 1.7: เมื่อให้ชื่อส้อมมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อส้อมที่นิยมใช้เป็นส้อมกลางได้อย่างถูกต้อง EO 1.8: เมื่อให้ชื่อมีดคาว นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายลักษณะของมีดดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง EO 1.9: เมื่อให้ชื่อมีดมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อมีดที่มีไว้สำหรับรับประทานเนื้อในมื้อค่ำได้อย่าง ถูกต้อง EO 1.10: เมื่อให้ชื่อมีดมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อมีดที่มีไว้สำหรับรับประทานปลา อาหารทะเล และอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง

EO 1.11: เมื่อให้ชื่อมีดปลา และมีดปาดเนย นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายลักษณะของมีดทั้งสองประเภท ได้อย่างถูกต้อง EO 1.12: เมื่อให้ชื่อมีดสเต็ก นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายลักษณะของมีดดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง EO 1.13: เมื่อให้ชื่อจานสำหรับอาหารหลักในการเลี้ยงอาหารค่ำ กับ จานสำหรับอาหารหลักในการเลี้ยงอาหารกลางวัน นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายความแตกต่าง ระหว่างจานทั้ง 2 ชนิดได้อย่างสมเหตุสมผล

EO 1.14: เมื่อให้ชื่อจานมา 4 ชื่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถระบุชื่อจานที่มีจานรองเสิร์ฟได้อย่างถูกต้อง EO 1.15: เมื่อให้ชื่ออุปกรณ์ได้แก่ แก้วแชมเปญ กับ แก้วไวน์ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สามารถอธิบายลักษณะ ความแตกต่างของแก้วทั้ง 2 ชนิดได้อย่างถูกต้อง