กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Nickle.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
โครเมี่ยม (Cr).
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
ครูปฏิการ นาครอด.
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระบบย่อยอาหาร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
การเติบโตของพืช 1. เส้นโค้งของการเติบโต (Growth curve)
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
ยิ้มก่อนเรียน.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต 1.3 การเจริญเติบโต และ กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต

การเติบโตของสิ่งมีชีวิต (Growth) การเติบโต หมายถึง กระบวนการที่ร่างกายมีการเพิ่มปริมาณของโพรโทพลาซึม จากการสังเคราะห์สารอินทรีย์ (Assimilation) ทำให้ขนาดของเซลล์ขยายใหญ่ขึ้น (Cell expansion) และเพิ่มจำนวนเซลล์ โดยแบ่งเซลล์ (Cell multiplication) การเติบโตของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ โดยทั่วไปจึงประกอบด้วย กระบวนการพื้นฐาน 3 ประการ การเติบโตของ สิ่งมีชีวิต (Growth) = การเพิ่มปริมาณ โพรโทพลาซึม (Assimilation) + การขยายขนาด ของเซลล์ (Cell expansion) + การเพิ่มจำนวน เซลล์ (Cell multiplication)

ในโพรโทซัว ในโพรโทซัวการเติบโตจะประกอบด้วยกระบวนการพื้นฐาน 2 ประการเท่านั้น คือ การเพิ่มปริมาณโพรโทพลาซึม และการขยายขนาดของเซลล์โดยไม่มีการเพิ่มจำนวนเซลล์ เช่น ในอะมีบา จากแผนภาพ พอสรุปได้ว่า เมื่ออะมีบาโตเต็มที่จะมีการแบ่งเซลล์ ออกเป็น 2 ส่วน (Binary fission) เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ (1  2  4) ในระยะนี้ไม่มีการเพิ่มขนาดของเซลล์ ระยะการเพิ่มเซลล์นี้จัดเป็นการสืบพันธุ์ไม่ใช่การเติบโต

กราฟแสดงการเติบโตของสิ่งมีชีวิต กราฟแสดงการเติบโตของสิ่งมีชีวิต มี 3 ลักษณะ คือ 1. กราฟรูปตัวเอส (s – Shaped curve) พบในสัตว์ทั่วๆ ไป ยกเว้นอาร์โทรพอด และพบในพืชล้มลุก โดยแบ่งการเจริญเติบโตเป็น 3 ระยะตามแผนภาพ คือ 1) ระยะ I มีอัตราการเติบต่ำ 2) ระยะ II มีอัตราการเติบโตสูงสุด 3) ระยะ III มีอัตราการเติบโตต่ำสุด 2. กราฟรูปตัวเอส ต่อเนื่อง พบในไม้ยืนต้นที่มีเนื้อไม้ (Perennial woody plant) ซึ่งมีการเจริญเติบโตในแต่ละฤดูกาลไม่เท่ากัน โดยในฤดูน้ำมากจะมีอัตราเติบโตสูง ส่วนฤดูแล้งจะมีอัตราการเติบต่ำ 3. กราฟรูปขั้นบันได (Intermittent growth) พบในอาร์โทรพอด ทุกชนิด ซึ่งมีการลอกคราบเพื่อการเติบโต

กราฟการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต A. พืชล้มลุกและสัตว์ทั่วๆ ไป B. ไม้ยืนต้นที่มีเนื้อไม้ C. แมลง, กุ้ง, กั้ง, ปู

การเจริญของสิ่งมีชีวิต (Development) = การเจริญของสิ่งมีชีวิต เป็นกระบวนการที่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป โดยการเพิ่มจำนวนเซลล์ เพิ่มขนาดของเซลล์ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์(Differentiation) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างพร้อมๆ กัน ทำให้เกิดเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ (Organogeny) การเจริญของสิ่งมีชีวิต (Development) = การเติบโต (Growht) + การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์ (Defferentiation) + การเกิดอวัยวะและรูปร่างของสิ่งชีวิต (Organogenesis and morphogenesis)

แบบแผนการเจริญของสัตว์ชั้นสูง การเจริญในระยะเอมบริโอ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1. ระยะคลีเวจ (Cleavage)  เพิ่มจำนวนเซลล์  เซลล์จำนวนมาก ขนาดเล็กลง  เรียกแต่ละเซลล์ว่า บลาสโทเมียร์ (Blastomere)

 แบ่งเป็น 2 ลักษณะ :- ก. โฮโลบลาสติก (Holoblastic) แบ่งโดยตลอดทั้งเซลล์ พบในพวกมีไข่แดงน้อย ไข่แดงปานกลาง หรือไม่มีเลย เช่น ไข่กบ ไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ภาพการเกิดคลีเวจของเซลล์ไข่ที่มีไข่แดงน้อย ข. มีโรบลาสติก (Meroblastic) แบ่งเฉพาะบริเวณด้านบนของไข่มีนิวเคลียสและไซโทพลาซึมอยู่พบในพวกมีไข่แดงมาก เช่น ไข่สัตว์เลื้อยคลาน ไข่นก เพราะไข่แดงมีมาก แบ่งตลอดทั้งเซลล์ไม่ได้ ภาพการเกิดคลีเวจของเซลล์ไข่ที่มีไข่แดงน้อย

2. ระยะบลาสตูเลชัน (Blastulation)  เซลล์มีการเรียงตัว ชั้นของเซลล์ที่เป็นผนังของตัวอ่อนระยะนี้ (Blastula) เรียกบลาสโตเดิร์ม (Blastoderm) และทำให้เกิดช่องว่างขึ้นภายในเรียกบลาสโตซีล (Blastocoal)  กลุ่มเซลล์เรียงเป็นก้อนคล้ายลูกน้อยหน่า เรียกว่า มอรูลา (Morula)

เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) มีโซเดิร์ม (Mesoderm) เอนโดเดิร์ม (Endoderm) 3. ระยะแกสตรูเลชัน (Gastrulation)  บลาสโตเดิร์มจะยื่นตัวเข้าไปด้านในโดยตำแหน่งที่ บลาสโตเดิร์มเว้าเข้าไปเรียกบลาสโตพอร์ (blastopore)  เกิดเนื้อชั้นต่างๆ ของเอมบริโอเป็น 3 ชั้น (Triploblastica) ประกอบด้วย เอกโตเดิร์ม (Ectoderm) มีโซเดิร์ม (Mesoderm) เอนโดเดิร์ม (Endoderm)  เกิดช่องภายในขึ้นมาใหม่ เรียก แกสโตรซีล (Gastrocoel) หรือ อาร์เชนเทอรอน (Archenteron)

4. ระยะออร์กาโนจีนีซิส และ มอร์โฟจีนีซิส (Organogenesis and Morphogenesis) เป็นขั้นตอนที่เนื้อเยื่อต่างๆ เกิดการเจริญเปลี่ยนแปลง (differentiation) ไปเป็นอวัยวะ (Organogenesis) และเกิดเป็นรูปร่างของตัวอ่อน (Morphogenesis) ดังนี้ ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ  เป็นระบบแรกสุดที่เจริญพัฒนาในระยะเอมบริโอ อวัยวะสืบพันธุ์ เอกโตเดิร์ม มีโซเดิร์ม อวัยวะขับถ่าย ผิวหนัง เส้นเลือด ระบบย่อยอวัยวะ เลนซ์ตา กระดูก อวัยวะหายใจ เอนโดเดิร์ม ตับอ่อน ตับ

 ในสัตว์ที่บลาสโตพอร์เจริญเปลี่ยนแปลง ไปเป็น ช่องปาก จะเรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่าโปรโตสโตเมีย (Protostomia) ได้แก่ หนอนพยาธิตัวกลม (nematode) แอนิลิด มอลลัสค์ และ อาร์โทรพอด ช่องทวารหนัก จะเรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า ตัวเทอโรสโตม (Deuterostome) ได้แก่ เอไคโนเดิร์ม และ คอร์เดต

การเจริญของตัวอ่อนของสัตว์ 1. พวกที่มีการปฏิสนธิภายนอก ออกลูกเป็นไข่ (Oviparous) ตัวอ่อนอาศัยอาหารจากไข่แดง เช่น ปลา กบ 2. พวกที่มีการปฏิสนธิภายใน ออกลูกเป็นไข่ (Oviparous) ตัวอ่อนอาศัยอาหารจากไข่แดง เช่น ตุ่นปากเป็ด พวกนก 3. พวกที่มีการปฏิสนธิภายใน ออกลูกเป็นตัว ซึ่งยังแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ตามแหล่งอาหารตัวอ่อน คือ 3.1 พวกออกลูกเป็นตัว โดยอาศัยอาหารจากไข่แดง (Ovoviviparous) ได้แก่ ปลาฉลาม ปลาหางนกยูง 3.2 พวกออกลูกเป็นตัว โดยอาศัยอาหารจากแม่ผ่านทางรก (Viviparous) ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม