การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑ สรุปการนิเทศติดตาม การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑ CUP เมืองสกลนคร
ข้อมูลทั่วไป อำเภอเมืองสกลนคร แบ่งการปกครองออกเป็น ๑๖ ตำบล ๑๗๓ หมู่บ้าน ๖๗ ชุมชน มีการกระจายอำนาจบริหารเป็นเขตเทศบาลนครสกลนคร ๑ แห่ง เทศบาลตำบล ๙ แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล ๘ แห่ง ประชากรชายจำนวน 99,159 คน ประชากรหญิงจำนวน 104,867 คน ประชากรรวม 204,026 คน
3. มอบรางวัลบุคคง/หน่วยงานที่มีผลงานดีเด่นประจำปี การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพระดับอำเภอ (พชอ.) อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร คณะกรรมการ พชอ. 1. ประธานกรรมการ (นายอำเภอ) 2. รองประธานกรรมการ (ผู้แทนผู้อำนวยการ รพศ.สน) 3. ผู้แทนราชการ ผู้แทนหน่วยงานของรัฐ นอภ.แต่งตั้งไม่เกิน ๕คน 4. ผู้แทนภาคเอกชนในอำเภอที่ นอภ.แต่งตั้ง ไม่เกิน ๖ คน 5. ผู้แทนภาค ปชช.ในอำเภอที่ นอภ. แต่งตั้ง ไม่เกิน ๗ คน 6. กรรมการและเลขา (สสอ.เมือสกลนคร) กระบวนการทำงาน 1. แต่งตั้งคณะทำงาน 2. กำหนดยุทธศาสตร์การทำงาน 3. จัดทำธรรมนูญสุขภาพตำบล 4. วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพตำบล/อำเภอ 5. จัดทำแผนโครงการประชุมคณะทำงาน (พชอ.) 2 เดือน/ครั้ง 6. ประชุมคณะทำงาน 7. ประเมินผลการดำเนินงานประจำปี 8. มอบรางวัลบุคคล/ หน่วยงานที่มีผลงานดีเด่น ปัญหาสุขภาพของประชาชนปี 2561 1. โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน ไต หัวใจ หลอดเลือด) 2. อุบัติเหตุทางถนน /จมน้ำ 3. อนามัยและเด็ก 4. โรคไข้เลือดออก 5. โรคมะเร็งตับ ท่อน้ำดี 6. ปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กละผู้ใหญ่ 7. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ขาดผู้ดูแล 8. วัณโรค 9. สารเสพติด บุหรี่ สุราในชุมชน 10. ทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน(อ้วน/ผอม) 11. การกำจัดขยะ/จัดการสิ่งแวดล้อมไม่ดี 12. ตั้งครรภ์ในวัยเรีย 13. มะเร็งปากมดลูก/เต้านม ข้อมูล ณ วันที่ 19 ธันวาคม 2560 กิจกรรม โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาประชาชนอำเภอเมืองสกลนคร ดำเนินการแก้ไขปัญหา 1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/โครงการ 2. ดำเนินการตามโครงการในพื้นที่ การประเมินผล 1. ผลงานตามตัวชี้วัดสุขภาพ 2. จัดระบบรายงานอิเล็กทรอนิกส์ 3. มอบรางวัลบุคคง/หน่วยงานที่มีผลงานดีเด่นประจำปี
การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพกลุ่มวัย
การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย กลุ่มวัย ตัวชี้วัด กิจกรรม 0-5ปี/สตรี ๑) ร้อยละสถานบริการสุขภาพที่มีการคลอดมาตรฐาน ๒) อัตราส่วนการตายมารดาไทย ๓) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5ปี มีพัฒนาการสมวัย ๔) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ที่อายุ 5 ปี ๑) โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูง ๒) โครงการเด็ก๐-๕ปี พัฒนาการดีสูงสมส่วน ๓) โครงการเด็กเมืองสกล สุขภาพดี สมองดี อารมดี(๓ก) ๔) โครงการเสริมสร้างและพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ และการเจริญเติบโตอย่างมีคุณค่า วัยเรียน/วันรุ่น ๑) เด็กไทยมีสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 ๒) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ๓) ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป ๔) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ ๕) อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี ๑) โครงการ Stop teen mom ในโรงเรียนมัธยม ๒) โครงการพัฒนาเครือข่ายแกนนำ TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน
การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัย กลุ่มวัย ตัวชี้วัด กิจกรรม วัยทำงาน ๑) ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55 (ปี 61) ๑) โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสกลนคร ๒) โครงการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มวัยทำงาน(แลกเปลี่ยนเรียนรู้จ้าวสนามจังหวัด) ๓) โครงการสร้างสุขภาพดีวิถีอำเภอเมืองสกลนคร ผู้สูงอายุ/ ผู้พิการ ๑) ร้อยละตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ๒) ร้อยละของการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ๖๐ปีขึ้นไป ๑) โครงการ “ดอกลำดวนตำบล” ๒) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายผู้พิการทางการเคลื่อนไหว/ร่างกายด้วยกายภาพบำบัด ๓) โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงระยะยาวโดยทีมสหวิชาชีพ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย -ร้อยละของทารกแรกเกิดคลอดก่อน กำหนดร้อยละ 8 -ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย กว่า 2500 กรัม ร้อยละ 7 -โครงการการพัฒนารูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูง -โครงการเด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการดี สูงดีสมส่วน -เด็กเมืองสกล สุขภาพดี สมองดี อารมณ์ดี -เสริมสร้างและพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์และการเจริญเติบโตอย่างมีคุณค่า -ส่งเสริมป้องกันในเด็กกลุ่มอายุ 0-2 ปี -โครงการอบรมการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง -โครงการสัปดาห์นมแม่ -โครงการพัฒนาระบบการพยาบาลทารกป่วย ตัวชี้วัด กิจกรรม - มาตรการนิเทศติดตามงานกลุ่มงานอนามัยแม่และเด็กในระดับ รพ.สต. ข้อเสนอแนะ - การบูรณาการอนามัยแม่และเด็ก เชิงรุก โดยการติดตามเยี่ยมเสริมกำลังใจจาก แพทย์ พยาบาล ระดับ รพศ. (อำเภอ) เพื่อพัฒนางานฝากครรภ์คุณภาพใน รพ.สต. ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ -มีการจัดทำโครงการพัฒนารูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูง อำเภอเมือง กิจกรรม คัดกรองหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูงในคลินิกฝากครรภ์ รพ.สกลนคร (โรคหัวใจ การคลอด ก่อนกำหนด คลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ภาวะเครียด การใช้สารเสพติด) มี กิจกรรมต่อเนื่องทั้งในคลินิกฝากครรภ์ ใน รพ.สต. และใน รพ.สกลนคร - พัฒนาคลินิกฝากครรภ์ในระดับ รพ.สต.ตามเกณฑ์มาตราฐานอนามัยแม่และเด็ก - พํฒนาการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ผลงาน
งานการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ งาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ การดูแลต่อเนื่อง (LTC) 1. ร้อยละผู้ป่วยเตียงประเภทที่ 3 และ 4 ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ (97%) 2. ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC)ในชุมชนผ่านเกณฑ์ (60%) 3. ร้อยละของ Healthy Aqeing (60%) ตัวชี้วัด 1. ผู้ป่วยเตียงที่ 3 และ 4 ที่ขึ้นทะเบียนส่งต่อออกเยี่ยมบ้าน ผ่านโปรแกรม LTG2 ตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 97 2. ตำบลมีระบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60% ของตำบลที่มี 16 ตำบล 3. ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ/ประเมินสุขภาพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60( ประชากร ผู้สูงอายุ 22,461 ราย ข้อมูลจาก HDC ) กิจกรรม 1. ข้อมูลการส่งต่อผุ้ป่วยเพื่อให้ออกเยี่ยมบ้าน จากศูนย์ COC ไม่สมบูรณ์ เช่น ไม่ลงวันจำหน่าย, ส่งต่อผิดหน่วยบริการ ในเขตเมือง 2. รพ.สต./ศสม. ออกติดตามเยี่ยมผุ้ป่วยและลงบันทึกการเยี่ยม เลยกำหนด 14 วัน หลังจำหน่ายจาก รพศ. 3. ร้อยละ Healthy Ageing จำนวนเป้าหมายการคัดกรองใน QOF และ HDC ไม่ตรงกัน ,ผลคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ทาง รพ.สต. ยังไม่ได้ลงบันทึกในโปรแกรม JHCIS 4. 7 ตำบล ยังไม่ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ตำบล เนื่องจากเทศบาล/อบต ยังไม่ได้มีการนำเข้าสู่วาระในการประชุมของกองทุนฯ ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. ผู้ป่วยเตียงที่ 3 และ 4 ที่ส่งต่อผ่านโปรแกรม LTC2 ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ ร้อยละ 93.12 2. ร้อยละของตำบลมีระบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 56.25 (9 ตำบล) 3. ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ/ประเมินสุขภาพ ร้อยละ 24.86 (5,583 ราย) ผลงาน
ปัญหา/อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะ งานอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN hospital ร้อยละหน่วยบริการผ่านเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลผ่านร้อยละ 100 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ตัวชี้วัด โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง, โรงพยาบาลรักษ์สกล 1 แห่ง, โรงพยาบาลค่ายกฤษณ์สีวะรา 1 แห่ง 2. รพ.สต. 24 แห่ง, ศสม. 3 แห่ง ปี 2560 ผ่านระดับดี 1 แห่ง (รพ.สต. เชียงเครือ) กิจกรร ม The Bert Practise การจัดการขยะ dki 1. ขยะติดเชื้อของสถานบริการสาธารณสุขพักค้างไม่สามารถจัดส่งได้วันต่อวัน 2. รถยนต์ขนส่งขยะไม่ครบทุกสถานบริการ ปัญหา/อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะ
1. การก่อตัว คณะทำงาน ศปถ. อำเภอ, ตำบล อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกินอัตรา 16 ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด งานป้องกัน อุบัติเหตุทางถนน ขับเคลื่อนโดย ศปถ. อำเภอ, ศปถ.ตำบล, อปท. มีโครงการพลังจิตอาสา "ทำความดีด้วยหัวใจ" ป้องกันอุบัติภัยทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2561 มีการกระตุ้นเตือน,ป้องกันแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนน 7 วันอันตราย มีการส่งต่อผู้ป่วยรวดเร็ว รพศ.สน แม่ข่าย มีการวิเคราะห์ข้อมูล คืน ศปถ.โดยศูนย์ระบาดอำเภอทุกวัน มีตำบลห้วยยาง หมู่บ้านศรีวิชา ถนนสายสกล-นาคำ เป็นต้นแบบที่เข้มแข็ง มีจิตอาสา 3760 คน ร้อยละ 100 กิจกรรม สร้างความรู้ความเข้าใจกับผู้นำชุมชนทุก หมู่บ้าน ทุกชุมชน จัดทำประชาคม ให้ได้ข้อตกลงระดับ ครอบครัวและระดับชุมชน รับสมัครครอบครัวเข้าร่วมโครงการด้วย ความสมัครใจ จัดทำทะเบียนคนเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง ถนน เสี่ยง รถเสี่ยง การสำรวจการจัดทำประกันภัยรถ ทุก ประเภท มีการนำข้อมูลผลการจับกุมเมาแล้วขับมา ทำข้อตกลงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. การนำข้อมูลการบาดเจ็บของ ผู้ประสบภัยจากอุบัติเหตุและสำรวจจุดเสี่ยงมาทำ Mapping สิ่งที่จะดำเนินการ ต่อไป การสัญจรปลอดภัยวิถีพุทธ จิตอาสาร่วมใจสบทบเสบียงต้านภัยอุบัติภัยทางถนน เปิดไฟว้าบ ๆ ปรามภัยทางถนน ติดกล้อง CCTV พร้อมไฟบัลลูนไลน์ นำทางนักเดินทาง(ทีมกู้ภัยภาคใต้ บริจาค) ยางรถยนต์ป้องกันภัยอุบัติเหตุ(อบต.ห้วยยาง รับบริจาค) กู้ชีพกู้ภัยในพื้นที่ร่วมแรงร่วมใจ นวัตกรรม เกิดขึ้น 1. การก่อตัว คณะทำงาน ศปถ. อำเภอ, ตำบล 2. การสื่อสาร บทบาทคณะทำงาน ด่านชุมชน,ด่านครอบครัว ปัญหา/อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เด็กแรกเกิด - 5ปี ได้รับวัคซีน >=90 - 95 % 1. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน OPV3 (>=90 %) 2. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน DTPHB3 (>=90 %) 3. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR1 (>=95 %) 4. ร้อยละเด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน OPV4 (>=90 %) 5. ร้อยละเด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 (>=90 %) 6. ร้อยละเด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน JE2, JELive1 (>=90 %) 7. ร้อยละเด็ก 3 ปี ได้รับวัคซีน JE, JELive (>=90 %) 8. ร้อยละเด็ก 5 ปี ได้รับวัคซีน OPV5 (>=90 %) 9. ร้อยละเด็ก 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 (>=90 %) 10. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน HBV1 (>=90 %) 11. ร้อยละเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน IPV-P (>=90 %) 12. ร้อยละเด็ก 3 ปี ได้รับวัคซีน MMR2 (>=95 %) ตัวชี้วัด ผลงาน รายละเอียด เกณฑ์ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ ผ่าน เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน OPV3 (>=90 %) >= 90 467 443 94.86 23 เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน DTPHB3 (>=90 %) 444 95.07 24 เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR1 (>=95 %) เด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน OPV4 (>=90 %) 395 374 94.68 22 เด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 (>=90 %) เด็ก 2 ปี ได้รับวัคซีน JE2, JELive1 (>=90 %) 358 90.63 17 เด็ก 3 ปี ได้รับวัคซีน JE, JELive (>=90 %) 418 370 88.52 12 เด็ก 5 ปี ได้รับวัคซีน OPV5 475 93.26 21 เด็ก 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 442 93.05 เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน HBV1 (>=90 %) 436 93.36 เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน IPV-P (>=90 %) 440 94.22 เด็ก 3 ปี ได้รับวัคซีน MMR2 (>=95 %) 90.00 376 89.95 20
งานป้องกันโรคไข้เลือดออก ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. ตำบลปลอดลูกน้ำยุงลาย : ร้อยละของหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะมีค่าดัชนีลุกน้ำยุงลายค่า HI/CI เป็นศูนย์ ร้อยละ 100 2. ร้อยละของหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะมีค่าดัชนีลุกน้ำยุงลายค่า HI/CI เป็นศูนย์ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัด โครงการควบคุมโรคติดต่อในรอบพระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ โครงการอำเภอปลอดลูกน้ำอำเภอเมืองสกลนคร โครงการพัฒนาและฟื้นฟูมาตรฐาน ทีม SRRT ด้านการรายงานและสอบสวนโรคคุณภาพอำเภอเมือง ปี 2561 กิจกรรม 1. ตำบลปลอดลูกน้ำยุงลาย 16 ตำบล ร้อยละของหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะมีค่าดัชนีลุกน้ำยุงลายค่า HI/CI เป็นศูนย์ ร้อยละ 100 ยังไม่มีตำบลปลอดลุกน้ำยุงลาย 2. ร้อยละของหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะทั้งหมด 216 หมู่บ้าน/ชุมชน (173 หมู่บ้าน/43ชุม) มีค่าดัชนีลุกน้ำยุงลายค่า HI/CI เป็นศูนย์ ร้อยละ 100 เท่ากับ 30 หมู่บ้าน (13.88%) ข้อมูล ณ 20 ธันวาคม 2560 เป็นการสุ่มภายในอำเภอ ผลงาน 1. ความตระหนักความเข้าใจในการป้องกันตนเองของประชาชนและการจัดการสิ่งแวดล้อมในการป้องกันตนเองเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกยังต้องปรับปรุงแก้ไข้ 2. ประชาชนมีความคุ้นชินเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกว่าเป็นโรคไม่อันตรายว่าเป็นโรคที่รักษาให้หายได้ ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพงานโรคเรื้อรัง ร้อยละผู้ป่วยเบาหวาน>ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาไม่น้อยกว่า 80 % ร้อยละของประชากรอายุ 35-74 ปี ได้ตรวจคัดกรองเบาหวาน ไม่น้อยกว่า80 % ร้อยละของประชากรอายุ 35-74 ปี ได้ตรวจคัดกรอง ความดันโลหิต ไม่น้อยกว่า 80 % ร้อยละการลดลงของอัตราการนอน รพ. ด้วยภาวะที่ควรควบคุมการบริการผู้ป่วยนอก(ACSC) ในโรคลมชัก ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หืด เบาหวาน ความดัน ไม่น้อยกว่า 6.58 % อัตราการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย CKD จากระยะ 3 B สู่ระยะที่ 4 ขึ้นไป < 10 % ตัวชี้วัด โ โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลสกลนคร และเครือข่าย CUP เมืองสกลนคร 2. โครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง 3. โครงการ การจัดการรายกรณีผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสกลนคร และโรงพยาบาลสาขาราชภัฏ 4. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเดิมเพิ่มพฤติกรรมใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง CUP เมืองสกลนคร ปี 2561 5. โครงการพัฒนาระบบข้อมูล NCD 6. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโซน 4 รวมใจต้านภัยโรคเรื้อรัง กิจกรรม ผลงาน 1. ผลงาน = 920 = 10.72% 2. ผลงาน = 47688 = 91.32% 3. ผลงาน = 46176 = 89.57% 4. ผลงาน = 8812 = 83.32% 5. ผลงาน = 5 = 2.23% ผลการคำนวณพบปัญหาอุปสรรคคือ ระยะ 3B ของผู้ป่วยในผู้สูงอายุ ส่งผลให้ การคำนวณค่าการทำงานของไต มีผลในระดับสูงขึ้น มีผลต่อการเปลี่ยนระดับ CKD บูรณาการแผนงานสร้างชิ้นงานกับ NCD Clinic Pius & CKD วางแผนการแก้ไข ปัญหาในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CKD โดยมาตรการลดคม ลด โรค ปัญหา/อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะ
สวัสดี