ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ครั้งที่ 6/2555 วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ 10.00-12.00 น.
หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ช่วงวันที่ 21-22 มิ.ย. 55 จะมีฝนตกกระจายตัวเล็กน้อยในพื้นที่ภาคเหนือ หลังจากนั้นปริมาณฝนจะลดลงตลอดทั้งสัปดาห์ ทั้งนี้ควรเฝ้าติดตามสถานการณ์ฝนบริเวณด้านตะวันตกของประเทศซึ่งจะส่งผลต่อปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ โดยช่วงวันที่ 18-20 มิ.ย. 55 ที่ผ่านมา มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนค่อนข้างมาก อย่างไรก็ตามเขื่อนยังสามารถรับได้น้ำอีกถึง 4,700 ล้านลูกบาศก์เมตร เสนอให้ระบายน้ำจากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ รวมกัน 36 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน จนถึงวันที่ 29 มิ.ย. 55 โดยเขื่อนภูมิพลจะระบาย 8 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส่วนเขื่อนสิริกิติ์จะระบาย 28 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ทั้งนี้อาจมีการปรับแผนการระบาย ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้น้ำจากการประเมินโดยกรมชลประทาน
สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว 27 มิถุนายน 2555
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (19-22 มิ.ย.55)
เรดาร์สกลนคร (19-22 มิ.ย. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 19 มิ.ย.55 20 มิ.ย.55 21 มิ.ย.55 22 มิ.ย.55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
เรดาร์อุบลราชธานี (19-22 มิ.ย. 55) 19 มิ.ย.55 20 มิ.ย.55 21 มิ.ย.55 22 มิ.ย.55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
สถานการณ์ฝน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปริมาณฝนสะสมมากกว่าค่าเฉลี่ย 1% ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ปริมาณฝนสะสมมากกว่าค่าเฉลี่ย 62% ภาคใต้ฝั่งตะวันออกปริมาณฝนสะสมมากกว่าค่าเฉลี่ย 59% ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ปริมาณฝนสะสมยังต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 10 ปี 2545-2554
ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว BK 5,10,11 22 มิ.ย. 2555 “ในช่วงที่ผ่านมาปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนลดน้อยลง ทำให้ปริมาณน้ำท่าตามลำน้ำธรรมชาติจากพื้นที่ตอนบนมีแนวโน้มลดลง ในขณะเดียวกันปริมาณน้ำจากพื้นที่ตอนบนก็อยู่ในเกณฑ์ที่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาทั้งหมด ยกเว้นในพื้นที่ทุ่งฝั่งตะวันออกที่รับน้ำเข้าพื้นที่ได้น้อยลง เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมาเขื่อนเจ้าพระยาต้องช่วยระบายน้ำจากทางตอนบน ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาด้านเหนือเขื่อนลดระดับลง กรมชลประทาน จึงได้แก้ไขปัญหาโดยการยกระดับน้ำเหนือเขื่อนให้สูงขึ้นในระดับ +16.30 เมตร(รทก.) ตั้งแต่วันที่ 19 มิ.ย. 55 ที่ผ่านมา เพื่อให้พื้นที่ด้านทุ่งฝั่งตะวันออก สามารถรับน้ำเข้าพื้นที่ได้ตามเกณฑ์ปกติ” สมดุลน้ำ 14-20 มิย 2555 BK 10,11 26 มิ.ย. 2555 “ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ กรมชลประทาน เปิดเผยว่า ภายหลังจากที่กรมชลประทาน ได้ปรับแผนการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา โดยการยกระดับน้ำเหนือเขื่อนให้สูงขึ้น เพื่อให้น้ำสามารถไหลผ่านเข้าสู่พื้นที่ทุ่งเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกได้ในเกณฑ์ปกติ ทำให้ปัจจุบันพื้นที่ทุ่งฝั่งตะวันออก สามารถรับน้ำเข้าพื้นที่ได้อย่างเต็มศักยภาพแล้ว” สมดุลน้ำคาดการณ์ 21-27 มิ.ย. 2555
สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 64.17 ล้าน ลบ.ม. (28 มิ.ย.55) 49% (28 มิ.ย.55) รับน้ำได้อีก 4,498 ล้านลูกบาศก์เมตร
สถานการณ์น้ำในเขื่อนศรีนครินทร์ 17.64 ล้าน ลบ.ม. (28 มิ.ย.55) ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน รับน้ำได้อีก 5,246 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมตั้งแต่ต้นปี 46% (28 มิ.ย.55) ปริมาณน้ำระบายสะสมตั้งแต่ต้นปี ปริมาณน้ำระบายรายวัน 8 ล้าน ลบ.ม. (28 มิ.ย.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างสะสมตั้งแต่ต้นปี 45% (28 มิ.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำระบายสะสมตั้งแต่ต้นปี 28 ล้าน ลบ.ม. (28 มิ.ย.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
สถานการณ์ในลุ่มน้ำยม สวรรคโลก กงไกรลาศ บางระกำ โพธิ์ประทับช้าง สถานการณ์ในลำน้ำเข้าสู่สภาวะปกติ
สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำยม
หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ
การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ
การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ พื้นที่ย่อย 11 Blocks และ Schematic diagram
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป
แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
แบบจำลอง SWAT เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำนอกพื้นที่ชลประทาน พิจารณาร่วมกับการคาดการณ์สถานการณ์ฝนและคาดการณ์น้ำท่าที่สถานีสำคัญ เพื่อพิจารณาความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วม
สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน 2555 เวลา 10.00-12.00 น. ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพฤหัสที่ 5 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.30-16.00 น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา 13.00-16.00 น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 26