งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
บทที่ 3 การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์

2 วัตถุประสงค์ เพื่อทำความรู้จักกับการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
เพื่อศึกษาแบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อศึกษาการประเมินและการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์

3 กล่าวนำ การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ คือ แนวคิดใหม่ของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีลักษณะการทำงานแบบวนซ้ำ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีความก้าวหน้าและเป็นไปตามมาตรฐานที่วางไว้ เน้น การสื่อสารระหว่างผู้พัฒนา กับผู้ใช้/ลูกค้า เน้นสื่อสารมากกว่าใช้เอกสาร มีเอกสารที่เกี่ยวข้องไม่มาก เวลาที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไม่นาน ส่งมอบกับลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

4 การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
เป้าหมายหลัก คือ สนับสนุนการทำงานของระบบที่มีความซับซ้อนและตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ที่ไม่ชัดเจนหรือเปลี่ยนแปลงบ่อย

5 แบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
ถูกคิดค้นกลางปี 1990 แก้ไขปัญหาความต้องการของลูกค้าเปลี่ยนแปลงบ่อย สามารถย้อนกลับไปแก้ไขงานที่ไม่สมบูรณ์ ค.ศ ตั้งชื่อว่า ระเบียบวิธีเอจายล์ (Agile Method)

6 กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
ลักษณะทำงานวนซ้ำ การออกแบบซอฟต์แวร์ไม่ออกแบบทั้งหมดในคราวเดียว ออกแบบทีละเล็กทีละน้อย สื่อสารกับผู้ใช้แบบไม่เป็นทางการ จัดทำเอกสารที่สำคัญเท่านั้น ส่งมอบงานให้กับลูกค้าหรือผู้ใช้บ่อย

7 วัตถุประสงค์แบบเอจายล์แก้ไขปัญหา
ใช้เวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์นาน ลูกค้าหรือผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความต้องการระหว่างการพัฒนาซอฟต์แวร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์เข้าใจความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ ตั้งแต่เริ่มโครงการซึ่งความต้องการอาจไม่ชัดเจน ใช้นักพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นจำนวนมากและทีมงานทุกคนทำงานหนัก มีระเบียบวิธีที่ซับซ้อน นักพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องจัดทำเอกสารจำนวนมาก และใช้เวลานาน

8 บทบัญญัติของเอจายล์ การให้ความสำคัญกับผู้ปฏิบัติงาน โดยเน้นความถนัดของแต่ละบุคคล และเน้นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน มากกว่าการทำงานตามกระบวนการและเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อนำไปใช้งานได้จริง มากกว่าการจัดทำเอกสาร การทำงานร่วมกับลูกค้าหรือผู้ใช้ มากกว่าการเจรจาต่อรองตามสัญญา การแก้ไขซอฟต์แวร์ตามการเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ มากกว่าการปฏิบัติงานตามแผนที่ได้กำหนดไว้

9 แบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์
แบบจำลอง Extreme Programming แบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบปรับตัว แบบจำลองผลึก แบบจำลอง Agile Unified Process แบบจำลอง Microsoft Solutions Framework แบบจำลอง สครัม

10 แบบจำลอง Extreme Programming
ใช้แนวความคิดของการออกแบบเชิงวัตถุ การทำงานมี 4 ขั้นตอน การวางแผน การออกแบบ การเขียนโปรแกรม การทดสอบระบบ ที่มา

11 แบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบปรับตัว Adaptive Software Development: ASD
แบบจำลองที่ถูกคิดค้นโดย Jim Highsmith และ Sam Bayer ในปี ค.ศ เหมาะกับโครงการซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อน มี 3 ขั้นตอน การคาดคะเน การร่วมมือ การเรียนรู้ ที่มา

12 แบบจำลองผลึก Crystal Model
แบบจำลองที่ถูกคิดค้นโดย Alistair Cockburn และ Jim Highsmith ในปี ค.ศ.1990 เป็นระเบียบวิธีแบบเบา ลักษณะการทำงานแบบวนซ้ำ ใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด มีการสื่อสารระหว่างทีม มุ่งเน้น คน การปฏิสัมพันธ์ สังคม ทักษะ ความสามารถพิเศษ การสื่อสาร เป้าหมายหลัก ส่งมอบซอฟต์แวร์ให้ผู้ใช้ เกิดประโยชน์ เป้าหมายรอง การจัดเตรียมความพร้อม เพื่อใช้ในโครงการซอฟต์แวร์ถัดไป

13 แบบจำลองผลึก Crystal Model
เป้าหมายหลัก ส่งมอบซอฟต์แวร์ให้ผู้ใช้ เกิดประโยชน์ เป้าหมายรอง การจัดเตรียมความพร้อม เพื่อใช้ในโครงการซอฟต์แวร์ถัดไป

14 แบบจำลอง Agile Unified Process
ถูกคิดค้นโดย Scott Ambler การประยุกต์แบบจำลอง RUP ให้มีแนวความคิดการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ มี 7 ขั้นตอน การสร้างแบบจำลอง การเขียนโปรแกรม การทดสอบ การนำไปใช้ การจัดการโครงแบบ การบริหารโครงการ สภาพแวดล้อม

15 แบบจำลอง Microsoft Solutions Framework
การจัดการผลิตภัณฑ์ การจัดการโปรแกรม การพัฒนา การทดสอบ การส่งมอบ ประสบการณ์ผู้ใช้

16 แบบจำลองกระบวนการ MSF
คือ แบบจำลองที่มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแบบจำลองเวียนก้นหอย แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน การนึกคิด การวางแผน การพัฒนา การสนับสนุน การใช้งาน ที่มา

17 แบบจำลอง สครัม แบบจำลองที่พัฒนาโดย Jeff Sutherland ในปี ค.ศ และพัฒนาต่อโดย Ken Schwaber และ Mike Beedle ในปี ค.ศ.2001 แบบจำลองสครัมมีลักษณะคล้ายกีฬารักบี้ การทำงานที่แต่ละคนต่างผลักดันซึ่งกันและกัน สามารถนำไปปรับใช้ในการบริหารจัดการและควบคุมโครงการซอฟต์แวร์ ทำงานใกล้ชิดกับลูกค้า/ผู้ใช้ เพื่อเก็บรวบรวมความต้องการ อยู่บนพื้นฐานของการวนซ้ำ การทำงานเป็นช่วงประมาณ 2-4 สัปดาห์

18 แบบจำลองสครัม ที่มา

19

20 คำถามท้ายบท การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร
อธิบายแบบจำลอง ที่สนใจมาคนละ 1 แบบ บอกข้อดีข้อเสียของแบบจำลองสครัม


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google