อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Portfolio Balance Wealth Credit Availability Expectations Open Economy
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
Integrated Marketing Communication
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
Supply and Demand >> chapter: 3 Krugman/Wells Economics ©2009  Worth Publishers.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
Foundations of Economic Thinking:
7 QC Tools.
REVENUE MANAGEMENT Presented by LM 10 ONLINE LOTTO.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 ราคา Price.
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กฎหมายอาญา(Crime Law)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
กระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด รายวิชา 100 -101 : Week 02

อุปสงค์ (Demand) อุปสงค์ คือ ปริมาณความต้องการบริโภคสินค้าและบริการของ ผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย - Want : ความต้องการจะซื้อ - Willingness to Pay : เต็มใจที่จะซื้อ - Ability to Pay : สามารถที่จะซื้อได้

อุปสงค์ (Demand) มี 3 ชนิด คือ 1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) มี 3 ชนิด คือ 1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) 3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross Demand)

กฎของอุปสงค์ (Law of Demand) ปริมาณของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ย่อมแปรผกผัน (Inverse Relation) กับราคาของสินค้าหรือบริการ ชนิดนั้นๆ - QXD = f (PX) P   QD  P   QD 

จากกฎของอุปสงค์ เมื่อราคาสินค้า สูงขึ้น ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าปริมาณน้อยลง เมื่อราคาสินค้า ลดลง ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าในปริมาณที่มากขึ้น

การที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคาสินค้าเกิดจาก 1. ผลทางรายได้ (Income Effect) 2. ผลทางการทดแทน (Substitution Effect) 3. การลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วน เพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Utility)

ผลทางรายได้ (Income Effect) เป็นการเปลี่ยนแปลงรายได้ที่แท้จริง (Real Income) เมื่อราคาสินค้าถูกลง รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่ ซื้อของได้มากขึ้น P I Q เมื่อราคาสินค้าแพงขึ้น รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่ ซื้อสินค้าได้น้อยลง P I Q

ผลทางการทดแทน (Substitution Effect) ถ้าราคาสินค้า A สูงขึ้น ขณะที่ราคาสินค้า B คงที่ คนจะซื้อ A ลดลง และหันไปซื้อ สินค้า B แทน เช่น โค้ก และเป๊ปซี่ ถ้าสินค้ายี่ห้อใดแพงขึ้น คนก็จะหันไปบริโภค อีกยี่ห้อหนึ่งแทน

กฎว่าด้วยการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Law of Diminishing) บอกไว้ว่า การที่เราบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น แต่ละหน่วย จะทำให้ความพอใจลดลงเรื่อย ๆ เช่น กินข้าวไปแล้ว 1 จาน เริ่มอิ่มนิดหน่อย กินเพิ่มจานที่ 2 เริ่มอิ่มมาก จะกินเพิ่มจานที่ 3 อาจจะเกินพอดี หรือไม่พอใจจะบริโภคอีก

Demand Curve ราคาไอศกรีม ปริมาณซื้อไอศกรีม 25 20 2 15 4 10 6 5 8 P Q Demand : D 15 5 4 2 25 20 10 6 8 A B ราคาไอศกรีม ปริมาณซื้อไอศกรีม 25 20 2 15 4 10 6 5 8 เส้นอุปสงค์ ลาดลงจากซ้ายไปขวา (Downward Slope) หรือมีความชันเป็นลบ (Negative Slope) แสดงถึงปริมาณซื้อสินค้า กับระดับราคา ที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม

ฟังก์ชันอุปสงค์ Qx = f (PX,A1,A2,A3,…) Qx = อุปสงค์ของสินค้า x เป็นตัวแปรตาม PX = ราคาสินค้า x เป็นตัวแปรตรง A1,A2,A3 = อื่นๆ เป็นตัวแปรโดยอ้อม

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 1. ราคาของสินค้าชนิดนั้น - ถ้าราคาเพิ่ม ปริมาณซื้อจะลดลง - ราคาลด ปริมาณซื้อเพิ่ม

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 2. รสนิยมของผู้บริโภค (+/-) - รสนิยมเพิ่ม ปริมาณซื้อเพิ่ม

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 3. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนหรือผู้บริโภค - รายได้เพิ่ม ปริมาณซื้อจะเพิ่ม

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 4. ราคาของสินค้าชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ** สินค้าทดแทนกัน - ราคา A เพิ่ม ปริมาณซื้อ B จะเพิ่ม

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 4. ราคาของสินค้าชนิดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ** สินค้าประกอบกัน - ราคา A เพิ่ม ปริมาณซื้อ C จะลดลง

ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) 5. ฤดูกาลและเทศกาล (+/-) - หน้าหนาว เสื้อกันหนาวขายดี

คุณลักษณะของสินค้าและบริการต่างๆ 1. สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitution Goods)

คุณลักษณะของสินค้าและบริการต่างๆ 2. สินค้าที่ใช้ประกอบหรือร่วมกัน (Complementary Goods)

คุณลักษณะของสินค้าและบริการต่างๆ 3. สินค้าปกติ (Normal Goods) เป็นสินค้าที่แปรผันโดยตรงกับรายได้ของผู้บริโภค

คุณลักษณะของสินค้าและบริการต่างๆ 4. สินค้าด้อย ( Inferior Goods) เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคจะซื้อน้อยลง เมื่อมีรายได้เพิ่มขึ้น

การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ Change in Demand การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ Shift in Demand

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in Demand) เกิดจาก ราคาสินค้า(P) เปลี่ยนแปลง โดยที่ ปัจจัยอื่นๆ คงที่ P Qd D A Q ราคา เพิ่มขึ้น B p1 ราคา ลดลง C p2 Q1 Q2

การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Shift in Demand) เกิดจาก ปัจจัยอื่นๆ เปลี่ยนแปลง โดยที่ ราคาสินค้า(P) คงที่ - Money Income (Y) - Normal Goods - Inferior Goods - Consumer Tastes - Population - Expectations Prices - Expectations Income - Cross Demand - Substitution Goods - Complementary Goods P Qd D A p Q0 ปัจจัยที่ทำให้อุปสงค์เพิ่ม ขึ้น Q2 B D1 Q1 C D2 ปัจจัยที่ทำให้อุปสงค์ลดลง

อุปทาน (Supply) คือ ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต เต็มใจที่จะทำการผลิตออกขายขาย ณ ระดับราคาต่างๆ ภายในระยะเวลา ที่กำหนด โดยที่ - Want to sell - Willingness to sell - Ability to sell สรุป คือ ความต้องการจะขาย

กฎแห่งอุปทาน ( Law of Supply) ปริมาณความต้องการขายของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ย่อมแปรผันโดยตรงกับราคาสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ QXS = f (PX) P   Qs  P   Qs 

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) หมายถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของจำนวนสินค้าที่ผู้ผลิตต้องการจะผลิตออกมาขาย ได้แก่ 1. ราคาของปัจจัยการผลิต 2. เทคนิคที่ใช้ในการผลิต 3. ราคาของสินค้าอื่น 4. นโยบายหรือการคาดการณ์ 5. จำนวนของผู้ขาย 6. อื่น ๆ

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 1. ราคาของปัจจัยการผลิตสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงตาม กำไรลด เช่น - ต้องการผลิตคุณภาพสูง ต้นทุนราคาก็จะสูงตามไปด้วย ความต้องการขายลดลง - ราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่ม ต้นทุนสูง อุปทานของที่อยู่อาศัยจะ ลดลง

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 2. เทคนิคที่ใช้ในการผลิต เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ต้นทุนเฉลี่ยถูกลง ทำให้อุปทานเพิ่มขึ้น

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 3. ราคาของสินค้าอื่น - กรณีสินค้าประกอบกัน เช่น ราคาไข่เป็ดแพง อุปทานเป็ดไข่ แพงตามไปด้วย - กรณีสินค้าทดแทนกัน เช่น หมูราคาแพง อุปทานไก่ลดลง เพราะอยากขายหมูมากกว่า

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 4. นโยบายหรือการคาดการณ์ หรือจุดมุ่งหมายของหน่วยผลิต เช่น ถ้าคนขายคิดว่าทองจะแพงขึ้น คนขายจะอยากขายทองในวันนี้ลดลง

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 5. จำนวนของผู้ขาย ผู้ผลิตมาก ความต้องการขายมากตาม

ตัวกำหนดอุปทาน (Supply Determinants) 6. อื่น ๆ เช่น ฤดูกาล หยุดประท้วง สงคราม

ฟังค์ชั่นอุปทาน QxS = f (PX,C,T,Py, G) เมื่อ QXS = ปริมาณอุปทาน PX = ราคาสินค้า X C = ต้นทุนในการผลิต T = เทคโนโลยี Py = ราคาสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง G = นโยบายรัฐ

Supply Curve ราคาไอศกรีม ปริมาณขายไอศกรีม 25 10 20 8 15 4 3 5 2 Q 15 5 เส้นอุปทาน เอียงขึ้นจากซ้ายไปขวา (Upward Slope) หรือ มีความชันเป็นบวก (Positive Slope) แสดงถึงปริมาณขายสินค้า กับระดับราคา ที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ราคาไอศกรีม ปริมาณขายไอศกรีม 25 10 20 8 15 4 3 5 2 Q 15 5 3 2 25 20 10 4 8 Supply: S

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Change in Supply) Qs A 3 8 S ราคา เพิ่มขึ้น B ราคา ลดลง 4 C 2 6 10

การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน (Shift in Supply) Qs A 3 8 S S2 ปัจจัยที่ทำให้อุปทานเพิ่ม ขึ้น S1 ปัจจัยที่ทำให้อุปทานลดลง C B 6 10

อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานของตลาด อุปทานส่วนบุคคล : ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายแต่ละคนนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง อุปทานของตลาด : ปริมาณหรือจำนวนทั้งหมดของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคนจะนำออกเสนอขายในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ D2 P Q 10 Dm D1 P1 q1 q2 Q=q1+q2 S1 S2 S=S1+S2

ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium) ดุลยภาพตลาด* เป็นจุดที่ปริมาณอุปสงค์ เท่ากับปริมาณอุปทานพอดี Qd = Qs

ดุลยภาพตลาด ราคาสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะถูกกำหนด โดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดสินค้าและบริการชนิดนั้น ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) และปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity) จะเกิดพร้อมกันตรงระดับ ซึ่งปริมาณซื้อเท่ากับปริมาณขายพอดี เราเรียกสภาวะดังกล่าวว่า “ดุลยภาพตลาด”

ยกตัวอย่างเรื่องนม Qs - Qd - 20 - 10 10 20 สถานะ Qs 12 16 24 28 32 26 10 20 สถานะ Qs 12 16 24 28 32 26 14 8 5 15 25 Qd ปริมาณนม (ลิตร/สัปดาห์) ราคานม (บาท/ลิตร) Shortage สมดุล Surplus การปรับตัวของราคา P เพิ่มขึ้น P คงที่ P ลดลง P Q 10 5 15 20 25 30 D S จุดดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ ปริมาณดุลยภาพ

การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ (Determination of Equilibrium) ราคา OP1 เป็นราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ P Q excess supply S เกิด อุปทานส่วนเกิน (excess supply) จำนวน AB หน่วย A B P1 ราคาจึงปรับตัวลดลง เข้าสู่ ดุลยภาพ E P ราคาดุลยภาพ OP ปริมาณดุลยภาพ OQ D C P2 ราคา OP2 เป็นราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ เกิด อุปสงค์ส่วนเกิน (excess demand) จำนวน DC หน่วย excess demand D Q1 Q Q2 ราคาจึงปรับตัวเพิ่มขึ้น เข้าสู่ ดุลยภาพ

ตัวอย่าง อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ตัวอย่าง อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

ข่าวจีนจะควบคุมการใช้ตะเกียบแบบใช้แล้วทิ้ง ผู้ผลิตตะเกียบแบบใช้ครั้งเดียว ในจีนกำลังเผชิญหน้ากับกฎระเบียบที่เข้มงวดของรัฐบาลท้องถิ่นที่มีเป้าหมายลดการทิ้งตะเกียบที่ใช้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น  เมื่อกระทรวงพาณิชย์จีนเตือนให้ควบคุมการใช้ตะเกียบชนิดดังกล่าว และว่าภัตตาคารควรบริการด้วยตะเกียบสะอาดที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้มากกว่าที่จะใช้ตะเกียบแบบใช้แล้วทิ้ง  เสียงเรียกร้องให้ยุติการใช้ตะเกียบแบบใช้แล้วทิ้งกำลังเพิ่มกระแสสูงมากขึ้นในจีนขณะนี้  แม้ว่ารัฐบาลจีนไม่เคยเปิดเผยสถิติการใช้ตะเกียบชนิดนี้ แต่ก็มีการประมาณการณ์ไว้ว่าจำนวนตะเกียบที่ใช้แล้วทิ้งในแต่ละปีมีจำนวนมากถึง 45,000 ล้านคู่ ซึ่งคิดเป็นปริมาณเทียบเท่ากับต้นไม้ที่โตเต็มที่แล้วจำนวนถึง 25 ล้านต้น การเรียกร้องให้หยุดใช้ตะเกียบใช้แล้วทิ้งครั้งล่าสุดของรัฐบาลจีนเป็นส่วนหนึ่งของแผนการรณรงค์ประหยัดพลังงานในเดือนนี้  ซึ่งรัฐสภาจีนได้เริ่มต้นแคมเปญขึ้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน เรียกร้องให้หน่วยงานภาครัฐช่วยกันประหยัดไฟฟ้า น้ำมันและน้ำเพื่อให้ประเทศสามารถบรรลุถึงเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลกแห่งชาติ จากหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ

ข่าว ททท.ดึง"มาร์ทา สจ๊วต"ทำรายการในไทย โปรโมตอาหาร-ท่องเที่ยว ข่าว ททท.ดึง"มาร์ทา สจ๊วต"ทำรายการในไทย โปรโมตอาหาร-ท่องเที่ยว รองผู้ว่าการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เปิดเผยถึงแผนการดำเนินงานในครึ่งปีหลังว่า ททท.ได้จับมือกับสายการบินเอทิฮัท และบริษัทนำเที่ยวรายใหญ่ของดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เจาะตลาดนักท่องเที่ยวจากตะวันออกกลาง ด้วยการจัดโปรแกรม "ไทยแลนด์ ซัมเมอร์"นำเสนอแพคเกจทัวร์เที่ยวไทยในราคาพิเศษ เริ่มจำหน่ายและเดินทางช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคมนี้ ส่วนตลาดยุโรปได้ร่วมมือกับสายการบินไทย ขายตั๋วราคาพิเศษไฟลท์ละ 50 ที่นั่ง รวม 4,600 ที่นั่งต่อสัปดาห์ เพื่อให้บริษัทนำเที่ยวจัดแพคเกจทัวร์บินเข้าประเทศไทย รวมถึงจะเชิญ "มาร์ทา สจ๊วต" เจ้าของแม็กกาซีนและพิธีกรดังจากอเมริกา รายการ "มาร์ทา สจ๊วต ลิฟวิ่ง" เข้ามาถ่ายทำรายการในประเทศไทยประมาณเดือนกันยายนนี้ คาดว่าจะช่วยประชาสัมพันธ์เรียกความเชื่อมั่นด้านการท่องเที่ยวและอาหารไทยได้ นางจุฑาพรกล่าวว่า สำหรับแผนการตลาดประจำปีงบประมาณ 2555 ของภูมิภาคยุโรป จะเน้นทำตลาดแบบเจาะกลุ่มความสนใจพิเศษ ให้มากขึ้น ส่วนตลาดนักท่องเที่ยวทั่วไปจะเป็นการรักษาส่วนแบ่งตลาดไว้ไม่ให้ลดไปกว่าเดิม โดยสินค้าที่จะนำเสนอ เน้นเจาะกลุ่มฮันนีมูน แต่งงาน กอล์ฟ และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เมดิคัลทัวร์ริสซึ่ม) หากได้รับงบประมาณกระตุ้นตลาดพิเศษจากรัฐบาล ก็จะมีการเดินสายส่งเสริม (โรดโชว์) หลายเมืองในกลุ่มประเทศตะวันออกกลางด้วย จากประชาชาติธุรกิจออนไลน์

การบ้าน งานกลุ่ม จงหาข่าวอธิบายแล้ววิเคราะห์ว่าเกี่ยวข้องกับอุปสงค์ และอุปทานอย่างไร พร้อมสุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทุกข่าว