การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
แนวทางการปรับแผนโครงการ และแผนงบประมาณ ภายในหน่วยงาน ปี 2558
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สถานการณ์โรคสำคัญ เดือนสิงหาคม 2560
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
งาน Palliative care.
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประชุม ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)

เป้าหมายการดำเนินงาน

สามารถแต่งตั้ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการได้ ไม่เกิน 2 คน โดยต้องเลือกจากกรมการในข้อ 1, 2 และ 3 รวมแล้วต้องไม่เกิน 21 คน

การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) การดำเนินงาน จำนวนอำเภอ รายชื่ออำเภอ 1. แต่งตั้ง และส่งคำส่งแล้ว 19 จอมทอง, ดอยสะเก็ด, สันกำแพง,กัลยาณิวัฒนา, แม่แจ่ม, หางดง,ฮอด แม่ริม, แม่วาง, สันทราย, ไชยปราการ ดอยเต่า, ฝาง, แม่ออน, แม่อาย, สะเมิง เวียงแหง, พร้าว, เชียงดาว* 2. รอลงนามโดยนายอำเภอ 4 สารภี ดอยหล่อ เมืองเชียงใหม่ อมก๋อย 3. อยู่ระหว่างการสรรหาและ แต่งตั้ง 2 สันป่าตอง, แม่แตง ข้อมูล ณ วันที่ 27 เมษายน 2561

ปัญหาและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ การแต่งตั้งคณะกรรมการไม่เป็นไปตาม ระเบียบฯ โดยบางอำเภอมีจำนวนกรรมการเกิน 21 คน โดยผู้ช่วยเลขานุการเป็นบุคลากรสาธารณสุข ไม่ได้เลือกมาจาก กรรมการข้อ 1 – 3 สามารถแต่งตั้งอนุกรรมการ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักงานเลขาฯ ได้ การแต่งตั้งคณะกรรมการ ยังสามารถปรับแก้ไขได้ โดยส่งมาสสจ.ไม่เกินวันที่ 5 พ.ค. 2561

ประเด็นการขับเคลื่อนโดย พชอ. (อย่างน้อย 2 ประเด็น) ลำดับ ชื่ออำเภอ การร่วมกันแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตตามบริบท 2 เรื่อง/อำเภอ (ระบุชื่อเรื่องการพัฒนา/แก้ไขปัญหา พชอ.) 1 กัลยาณิวัฒนา 1. การดูแลผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และหญิงตั้งครรภ์ 2. การจัดการขยะในชุมชน 2 จอมทอง 1. ไข้เลือดออก 2. อุบัติเหตุ 3 เชียงดาว 1. LTC 2. การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 4 ไชยปราการ 1. การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน(EMS) 2. งานควบคุมโรคติดต่อไข้เลือดออก,วัณโรค,ไวรัสซิกา 5 ดอยเต่า 1. การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 6 ดอยสะเก็ด การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก การส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส

ประเด็นการขับเคลื่อนโดย พชอ. (อย่างน้อย 2 ประเด็น) ลำดับ ชื่ออำเภอ การร่วมกันแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตตามบริบท 2 เรื่อง/อำเภอ (ระบุชื่อเรื่องการพัฒนา/แก้ไขปัญหา พชอ.) 7 ฝาง 1. มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต 2. โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง 8 พร้าว 1. การแก้ไขปัญหาผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 2. การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก 9 แม่แจ่ม 1.การดูแลสุขภาพระยะยาว (LTC) 2.อนามัยแม่และเด็ก 10 แม่แตง 1. การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 2. การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( Long Term Care ) 11 แม่ริม 1.การจัดการสิ่งแวดล้อมขยะ 2.ไข้เลือดออก 12 แม่วาง 1. Long term Care 2. การบริหารจัดการขยะ

ประเด็นการขับเคลื่อนโดย พชอ. (อย่างน้อย 2 ประเด็น) ลำดับ ชื่ออำเภอ การร่วมกันแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตตามบริบท 2 เรื่อง/อำเภอ (ระบุชื่อเรื่องการพัฒนา/แก้ไขปัญหา พชอ.) 13 แม่ออน 1. โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. อุบัติเหตุทางจราจร 14 แม่อาย 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน 2. การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative Care) 15 สะเมิง 1. การแก้ไขปัญหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร 2. การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 16 สันกำแพง 1. คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2. การจัดการปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม 17 สันทราย 1. ไข้เลือดออก 2. NCD 18 สารภี 1. การจัดการขยะแบบครบวงจร 2. เครือข่ายดูแลพัฒนาการเด็กผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการ

ประเด็นการขับเคลื่อนโดย พชอ. (อย่างน้อย 2 ประเด็น) ลำดับ ชื่ออำเภอ การร่วมกันแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตตามบริบท 2 เรื่อง/อำเภอ (ระบุชื่อเรื่องการพัฒนา/แก้ไขปัญหา พชอ.) 19 สันป่าตอง 1. วัณโรค (TB) 2. มหัศจรรย์ 1000 วัน 3. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 20 หางดง 1. การดำเนินงานอำเภอหางดงสะอาด ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ 2.การดำเนินงานสุขภาพจิตและ TO BE NUMBER ONE 21 อมก๋อย 1. พัฒนาการเด็ก 2. อุบัติเหตุ 22 ฮอด 1. การป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก 2. การป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน 24 อำเภอที่ยังไม่ได้กำหนดประเด็น ได้แก่ ดอยหล่อ เมืองเชียงใหม่ และเวียงแหง ข้อมูลจากการตรวจราชการ รอบที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ 2561

ปัญหาและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ประเด็นปัญหาส่วนใหญ่ เป็นประเด็นด้านสุขภาพ ซึ่งต้องนำเข้าที่ประชุมพชอ. เห็นชอบ สามารถปรับเปลี่ยนประเด็นปัญหาได้ตามมติที่ประชุม พชอ.

คู่มือการดำเนินงาน พชอ. และรายละเอียดต่าง ๆ สามารถดาวน์โหลดได้ https://goo.gl/zaY4yG

3.การจ่ายค่าป่วยการ อสม. ผ่านระบบ e-Payment งานสุขภาพภาคประชาชน กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ 1.การขอรับเข็มเชิดชูเกียรติ อสม.ที่ปฏิบัติงานครบ 10 ปี 20 ปี 30 ปี 2.การอบรมหลักสูตร อสม.นักจัดการสุขภาพ (ตำบลละ 10 คน 204 ตำบล) แผนอบรมเสร็จสิ้น พ.ค. 61 งบจัดสรรอำเภอให้เบิกจ่ายภายใน มิ.ย.61 อำเภอที่เบิกจ่ายแล้ว แม่แตง สันทราย (เบิกจ่าย 100%) 3.การจ่ายค่าป่วยการ อสม. ผ่านระบบ e-Payment 3.1 กรมบัญชีกลาง กำหนดเบิกจ่ายผ่านระบบ e-Payment ก.ค.61 3.2 กรมบัญชีกลางให้พื้นที่ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลจาก thaiphc ภายใน 7 พ.ค.61 เพื่อนำเข้าฐานข้อมูลกรมบัญชีกลาง 8 พ.ค.61 3.3 การอบรมโปรแกรม e-Payment ผ่าน VDO Conference 15 – 16 พ.ค.61