โครงการบริการวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นหน่วยงานสนับสนุน ภารกิจหลักตามพันธกิจของ ศูนย์วิทยทรัพยากร ในการ บริหารจัดการด้านงานพัสดุ เพื่อให้สามารถจัดหาพัสดุที่มี คุณภาพ ด้วยความโปร่งใส ถูกต้อง.
Advertisements

พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ฐานข้อมูลทะเบียนที่มีอยู่เดิม ทะเบียนที่ขึ้นต้นด้วยเลขต่อไปนี้ได้นำออกจากระบบไปแล้ว จะไม่สามารถส่งข้อมูล เบิกเครมได้ 00xxx xxxxx xxx = นำออกจากระบบ 1xxxxx.
การคืนเงินยืมรองจ่าย
ถุงเงิน ถุงทอง.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
องค์ประกอบของข้อความที่ระบุใน ใบรายงานผลการสอบเทียบ
Executive Presentation
การฝึกอบรม MU – ERP ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ (AP: Accounts Payable) วันที่ 25 เมษายน 2011 – 3 พฤษภาคม 2011 โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP.
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิรา บรมนาถบพิตร  ครองราชย์วันที่ 9 ปี 2489 เมื่อพระชนมายุ
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
Calculus I (กลางภาค)
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
แนวทางปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ทำหน้าที่งบประมาณ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
The Comptroller General's Department
สรุปแนวปฎิบัติที่ส่วนงานควรทราบระบบบัญชีเจ้าหนี้(AP)
Question & Answer จากการชี้แจงการบันทึกค่า SKF
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ใบงานกลุ่มย่อย.
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบริการวิชาการ การบริหาร จัดการ โครงการบริการวิชาการ แหล่งทุนภายนอก 7 กันยายน 2558

ขอบเขตเนื้อหา กฎหมาย : ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการให้บริการทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระบบงานเทคโนโลยี :CU-ERP งบประมาณ

ข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการให้บริการทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ประเภทของการให้บริการทางวิชาการ อัตราการเบิกจ่าย การจัดทำงบประมาณ การจัดสรรเงินงบประมาณ การปรับปรุงงบประมาณ

ประเภทของการให้บริการทางวิชาการ ตามข้อบังคับ จุฬาฯ ๒๕๕๔ ข้อ ๖ การให้บริการทางวิชาการแบ่งเป็นสี่ประเภท ดังต่อไปนี้ (๑) การจัดอภิปราย บรรยาย อบรม ประชุม หรือสัมมนาทางวิชาการ (๒) งานค้นคว้า สำรวจ วิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ วางระบบ วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ์ งานเขียนหรืองานแปลทางวิชาการ (๓) งานที่ปรึกษาหรือให้คำปรึกษาทางวิชาการ ทางเทคนิค หรือทางวิชาชีพ (๔) งานบริการทางวิชาการลักษณะอื่น ข้อ ๗ ในการให้บริการทางวิชาการ คณะหรือส่วนงานอาจดำเนินการเองหรือร่วมกับหน่วยงานภายนอก ก็ได้ โดยจะต้องคำนึงถึงหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการที่คณะหรือส่วนงานนั้นๆ รับผิดชอบโดยตรง (๒) เป็นงานที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานประจำของคณะหรือของส่วนงาน (๓) เป็นงานที่ไม่ขัดหรือส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของสังคม รวมทั้งจะต้องไม่กระทบต่อภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย

อัตราการเบิกจ่าย (ข้อ ๘) การให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยคณะ ให้ใช้อัตราการเบิกจ่ายตามประกาศอัตราการเบิกจ่ายของมหาวิทยาลัยหรือ ประกาศอัตราการเบิกจ่ายของคณะที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเงินแล้ว และ เสนอข้อเสนอโครงการและงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะเพื่อพิจารณาอนุมัติ ข้อ ๘ การให้บริการทางวิชาการต้องมีการจัดทำข้อเสนอโครงการและงบประมาณ - ในกรณีที่เป็นการให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยคณะ ให้ใช้อัตราการเบิกจ่ายตามประกาศอัตราการเบิกจ่ายของมหาวิทยาลัยหรือประกาศอัตราการเบิกจ่ายของคณะที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเงินแล้ว และเสนอข้อเสนอโครงการและงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะเพื่อพิจารณาอนุมัติ - ในกรณีที่เป็นการให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยส่วนงาน ให้ใช้อัตราการเบิกจ่ายตามประกาศอัตราการเบิกจ่ายของมหาวิทยาลัยที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการการเงินแล้ว และเสนอข้อเสนอโครงการและงบประมาณต่อคณะกรรมการการเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติ - ในกรณีที่งบประมาณโครงการไม่เป็นไปตามอัตราการเบิกจ่ายตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วแต่กรณี หรือเป็นการจัดทำงบประมาณตามเงื่อนไขของแหล่งทุน ให้เสนอคณะกรรมการการเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติข้อเสนอโครงการและงบประมาณเป็นรายโครงการ ๔ เมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ให้นำส่งข้อเสนอโครงการต่อมหาวิทยาลัยเพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานทางการเงินและการใช้งบประมาณ เมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ให้นำส่งข้อเสนอโครงการต่อมหาวิทยาลัยเพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานทางการเงินและการใช้งบประมาณ

อัตราการเบิกจ่าย (ข้อ ๘) ...(ต่อ) การให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยคณะ กรณีที่งบประมาณโครงการไม่เป็นไปตามอัตราการเบิกจ่ายตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วแต่กรณี หรือเป็นการจัดทำงบประมาณตามเงื่อนไขของแหล่งทุน ให้เสนอคณะกรรมการการเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติข้อเสนอโครงการและงบประมาณเป็นรายโครงการ ข้อ ๘ การให้บริการทางวิชาการต้องมีการจัดทำข้อเสนอโครงการและงบประมาณ - ในกรณีที่เป็นการให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยคณะ ให้ใช้อัตราการเบิกจ่ายตามประกาศอัตราการเบิกจ่ายของมหาวิทยาลัยหรือประกาศอัตราการเบิกจ่ายของคณะที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเงินแล้ว และเสนอข้อเสนอโครงการและงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะเพื่อพิจารณาอนุมัติ - ในกรณีที่เป็นการให้บริการทางวิชาการที่จัดโดยส่วนงาน ให้ใช้อัตราการเบิกจ่ายตามประกาศอัตราการเบิกจ่ายของมหาวิทยาลัยที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการการเงินแล้ว และเสนอข้อเสนอโครงการและงบประมาณต่อคณะกรรมการการเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติ - ในกรณีที่งบประมาณโครงการไม่เป็นไปตามอัตราการเบิกจ่ายตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วแต่กรณี หรือเป็นการจัดทำงบประมาณตามเงื่อนไขของแหล่งทุน ให้เสนอคณะกรรมการการเงินเพื่อพิจารณาอนุมัติข้อเสนอโครงการและงบประมาณเป็นรายโครงการ ๔ เมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ให้นำส่งข้อเสนอโครงการต่อมหาวิทยาลัยเพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานทางการเงินและการใช้งบประมาณ เมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ให้นำส่งข้อเสนอโครงการต่อมหาวิทยาลัยเพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานทางการเงินและการใช้งบประมาณ

การจัดทำงบประมาณ (ข้อ ๙-๑๑) ข้อ ๙ การจัดทำงบประมาณฯ ให้แยกเป็นหมวด (หมวดค่าจ้าง หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย และค่าวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดงบลงทุน หมวดเงินอุดหนุน และหมวดสํารอง ซึ่งประกอบด้วย สำรองเพื่อความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวิชาการ (ถ้ามี) และสํารองทั่วไป ) หมวดงบลงทุนจะมีได้เฉพาะเท่าที่จำเป็นซึ่งนำมาใช้ในโครงการนั้นเท่านั้น ข้อ ๑๐ กรณีที่โครงการไม่มีการจัดเก็บรายได้ฯ ไม่ให้จัดสรรค่าตอบแทนกรรมการดำเนินงานโครงการ และให้เสนอขออนุมัติข้อเสนอโครงการและงบประมาณจากคณะกรรมการการเงินเป็นรายโครงการ ข้อ ๑๑ ในกรณีที่โครงการมีการจัดเก็บรายได้ จะต้องมีรายได้ไม่น้อยกว่ารายจ่าย ข้อ ๙ การจัดทำงบประมาณโครงการ ให้แยกเป็นหมวดค่าจ้าง หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย และค่าวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดงบลงทุน หมวดเงินอุดหนุน และหมวดสํารอง ซึ่งประกอบด้วย สำรองเพื่อความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวิชาการ (ถ้ามี) และสํารองทั่วไป หมวดงบลงทุนจะมีได้เฉพาะเท่าที่จำเป็นซึ่งนำมาใช้ในโครงการนั้นเท่านั้น ข้อ ๑๐ ในกรณีที่โครงการไม่มีการจัดเก็บรายได้ ในการจัดทำงบประมาณโครงการ ไม่ให้จัดสรรค่าตอบแทนกรรมการดำเนินงานโครงการ และให้เสนอขออนุมัติข้อเสนอโครงการและงบประมาณจากคณะกรรมการการเงินเป็นรายโครงการ ข้อ ๑๑ ในกรณีที่โครงการมีการจัดเก็บรายได้ จะต้องมีรายได้ไม่น้อยกว่ารายจ่าย

การจัดสรรเงินงบประมาณ (ข้อ ๑๒) ต้องมีการจัดสรรเงินรายได้ให้แก่หมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้ หมวดค่าตอบแทน จัดสรรเป็นค่าตอบแทนคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ ไม่เกินร้อยละยี่สิบของรายได้โครงการ (CI/GL 5031050007) (๒) หมวดเงินอุดหนุน จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการ ของคณะ หรือ เงินอุดหนุนส่วนงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของรายได้โครงการ CI/GL : 5056010001 อุดหนุนพัฒนาวิชาการ , 5056010002 อุดหนุนสมทบกองทุนตามพันธกิจ ข้อ ๑๒ การจัดเก็บรายได้สำหรับโครงการตามข้อ ๖ ให้ เป็นไปตามงบประมาณในข้อเสนอโครงการที่ได้รับอนุมัติ และอย่างน้อยต้องมีการจัดสรรเงินรายได้ให้แก่หมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) หมวดค่าตอบแทน จัดสรรเป็นค่าตอบแทนคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ ไม่เกินร้อยละยี่สิบของรายได้โครงการ (๒) หมวดเงินอุดหนุน จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการของคณะหรือเงินอุดหนุนส่วนงานแล้วแต่กรณี ไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของรายได้โครงการ (๓) หมวดค่าสาธารณูปโภค จัดสรรให้แก่มหาวิทยาลัยหรือคณะที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ร้อยละห้าของรายได้โครงการ (๔) หมวดสํารอง จัดสรรเป็นสํารองเพื่อความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวิชาการ (ถ้ามี) และสำรองทั่วไป ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของรายได้โครงการ ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง หากผู้ร่วมโครงการมาจากหลายคณะหรือส่วนงาน ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ร่วมโครงการที่จะจัดสรรเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการและค่าสาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่งให้แก่คณะหรือส่วนงานที่ผู้ร่วมโครงการสังกัดและคณะหรือส่วนงานที่เป็นเจ้าของโครงการ ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะเจ้าของโครงการ

การจัดสรรเงินงบประมาณ (ข้อ ๑๒) (ต่อ) (๓) หมวดค่าสาธารณูปโภค จัดสรรให้แก่มหาวิทยาลัยหรือคณะที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ร้อยละห้าของรายได้โครงการ (ค่าไฟฟ้า-ประปา) (๔) หมวดสํารอง จัดสรรเป็นสํารองเพื่อความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวิชาการ (ถ้ามี) และสำรองทั่วไป ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของรายได้โครงการ ข้อ ๑๒ การจัดเก็บรายได้สำหรับโครงการตามข้อ ๖ ให้ เป็นไปตามงบประมาณในข้อเสนอโครงการที่ได้รับอนุมัติ และอย่างน้อยต้องมีการจัดสรรเงินรายได้ให้แก่หมวดต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) หมวดค่าตอบแทน จัดสรรเป็นค่าตอบแทนคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ ไม่เกินร้อยละยี่สิบของรายได้โครงการ (๒) หมวดเงินอุดหนุน จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการของคณะหรือเงินอุดหนุนส่วนงานแล้วแต่กรณี ไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของรายได้โครงการ (๓) หมวดค่าสาธารณูปโภค จัดสรรให้แก่มหาวิทยาลัยหรือคณะที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า ร้อยละห้าของรายได้โครงการ (๔) หมวดสํารอง จัดสรรเป็นสํารองเพื่อความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวิชาการ (ถ้ามี) และสำรองทั่วไป ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของรายได้โครงการ ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง หากผู้ร่วมโครงการมาจากหลายคณะหรือส่วนงาน ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ร่วมโครงการที่จะจัดสรรเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการและค่าสาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่งให้แก่คณะหรือส่วนงานที่ผู้ร่วมโครงการสังกัดและคณะหรือส่วนงานที่เป็นเจ้าของโครงการ ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะเจ้าของโครงการ หากผู้ร่วมโครงการมาจากหลายคณะหรือส่วนงาน ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ร่วมโครงการที่จะจัดสรรเงินอุดหนุนพัฒนาวิชาการและค่าสาธารณูปโภค ให้แก่คณะหรือส่วนงานที่ผู้ร่วมโครงการสังกัดและคณะหรือส่วนงานที่เป็นเจ้าของโครงการ ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะเจ้าของโครงการ

การจัดสรรเงินงบประมาณ (ข้อ ๑๓) ในกรณีที่คณะหรือส่วนงานไม่สามารถจัดสรรเงินรายได้ของโครงการตามรายการใดรายการหนึ่งที่ระบุไว้ในข้อ ๑๒ โดยมีเหตุผลและความจำเป็นในการให้บริการทางวิชาการ ข้อ ๑๓ ในกรณีที่คณะหรือส่วนงานไม่สามารถจัดสรรเงินรายได้ของโครงการตามรายการใดรายการ หนึ่งที่ระบุไว้ในข้อ ๑๒ โดยมีเหตุผลและความจำเป็นในการให้บริการทางวิชาการ ให้เสนอขออนุมัติการ จัดสรรเงินรายได้ในอัตราที่แตกต่างต่อคณะกรรมการการเงิน เป็นรายโครงการ ให้เสนอขออนุมัติการ จัดสรรเงินรายได้ ในอัตราที่แตกต่างต่อคณะกรรมการการเงิน เป็นรายโครงการ

การปรับปรุงงบประมาณโครงการ (ข้อ ๑๔) การขออนุมัติปรับงบประมาณโครงการจะดำเนินการได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) รายได้จริงตํ่ากว่าประมาณการรายได้เกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๒) ค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าจ้างสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๓) ค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าตอบแทนสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๔) ค่าใช้จ่ายจริงหมวดอื่นทั้งหมดนอกเหนือจาก (๒) และ (๓) สูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๕) ค่าใช้จ่ายจริงสูงกว่ารายได้โครงการ ข้อ ๑๔ การขออนุมัติปรับงบประมาณโครงการจะดำเนินการได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) กรณีที่รายได้จริงตํ่ากว่าประมาณการรายได้เกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๒) กรณีค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าจ้างสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๓) กรณีค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าตอบแทนสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๔) กรณีค่าใช้จ่ายจริงหมวดอื่นทั้งหมดนอกเหนือจาก (๒) และ (๓) สูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๕) กรณีค่าใช้จ่ายจริงสูงกว่ารายได้โครงการ ทั้งนี้ ให้เสนอขออนุมัติปรับงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะหรือคณะกรรมการการเงินเพื่ออนุมัติแล้วแต่กรณีเป็นรายโครงการ ข้อเสนอโครงการที่มีการขออนุมัติปรับงบประมาณ เมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้คณะหรือส่วนงาน แล้วแต่กรณีจัดเก็บหลักฐานการเงินและการใช้งบประมาณเพื่อการตรวจสอบ

การจัดสรรเงินงบประมาณ (ข้อ ๑๔) (ต่อ) ให้เสนอขออนุมัติปรับงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะหรือคณะกรรมการการเงินเพื่ออนุมัติแล้วแต่กรณีเป็นรายโครงการ ข้อเสนอโครงการที่มีการขออนุมัติปรับงบประมาณ เมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้คณะหรือส่วนงาน แล้วแต่กรณีจัดเก็บหลักฐานการเงินและการใช้งบประมาณเพื่อการตรวจสอบ ข้อ ๑๔ การขออนุมัติปรับงบประมาณโครงการจะดำเนินการได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) กรณีที่รายได้จริงตํ่ากว่าประมาณการรายได้เกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๒) กรณีค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าจ้างสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๓) กรณีค่าใช้จ่ายจริงเฉพาะหมวดค่าตอบแทนสูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๔) กรณีค่าใช้จ่ายจริงหมวดอื่นทั้งหมดนอกเหนือจาก (๒) และ (๓) สูงกว่างบประมาณเกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า (๕) กรณีค่าใช้จ่ายจริงสูงกว่ารายได้โครงการ ทั้งนี้ ให้เสนอขออนุมัติปรับงบประมาณต่อคณะกรรมการบริหารคณะหรือคณะกรรมการการเงินเพื่ออนุมัติแล้วแต่กรณีเป็นรายโครงการ ข้อเสนอโครงการที่มีการขออนุมัติปรับงบประมาณ เมื่อได้รับอนุมัติแล้วให้คณะหรือส่วนงาน แล้วแต่กรณีจัดเก็บหลักฐานการเงินและการใช้งบประมาณเพื่อการตรวจสอบ เมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ให้นำส่งข้อเสนอโครงการต่อมหาวิทยาลัย เพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐานทางการเงินและการใช้งบประมาณ

หมวด ๒ การรับเงิน ข้อ ๑๕ ให้คณะหรือส่วนงานที่จัดเก็บรายได้สำหรับโครงการ ดําเนินการรับเงิน ออกหลักฐานการรับเงิน เก็บหลักฐานทางการเงิน และดําเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น หมวด ๒ การรับเงิน ข้อ ๑๕ ให้คณะหรือส่วนงานที่จัดเก็บรายได้สำหรับโครงการ ดํ าเนินการรับเงิน ออกหลักฐานการรับ เงิน เก็บหลักฐานทางการเงิน และดํ าเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น

หมวด ๓ การเบิกจ่าย การใช้จ่าย และการสั่งายเงิน หมวด ๓ การเบิกจ่าย การใช้จ่าย และการสั่งายเงิน ข้อ ๑๖ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการให้เป็นไปตามงบประมาณในข้อเสนอโครงการ ที่คณะกรรมการบริหารคณะหรือคณะกรรมการการเงิน อนุมัติ แล้วแต่กรณี โดยให้เก็บหลักฐานการจ่ายเงินและดำเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น ข้อ ๑๗ การใช้จ่ายเงินสํ าหรับโครงการ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องจ่ายเป็นเงินสดให้ใช้วิธียืมเงิน รองจ่ายโดยหัวหน้าโครงการ ทั้งนี้ ผู้มีอํานาจสั่งจ่ายเงินอาจพิจารณากําหนดวงเงินยืมรองจ่ายได้ตามความ จําเป็นและเหมาะสม ๖ ข้อ ๑๘ การจ่ายเงินทุกรายการของโครงการจะจ่ายได้ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากผู้มีอํานาจสั่งจ่ายแล้ว โดยให้ดําเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่ เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น ข้อ ๑๙ ในกรณีที่ต้องมีการจ่ายค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกิดขึ้นหรือเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินโครงการ ให้จ่ายจากหมวดสํารองของโครงการ และเงินที่เหลืออยู่ในงบประมาณซึ่งยังไม่ได้เบิกจ่าย ตามลำดับก่อน ในกรณีที่เงินสำรองหรือเงินที่เหลืออยู่ในงบประมาณไม่เพียงพอจ่ายค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกิดขึ้นหรือเกี่ยวเนื่องกับการดำเนินโครงการตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าโครงการและผู้ร่วมโครงการมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจ่ายร่วมกัน ทั้งนี้ ในกรณีที่มีผู้ร่วมโครงการหลายราย ให้ผู้ร่วมโครงการ แต่ละรายมีหน้าที่และความรับผิดชอบเฉพาะในส่วนของตน ข้อ ๑๖ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการให้เป็นไปตามงบประมาณในข้อเสนอโครงการ ที่คณะกรรมการบริหารคณะหรือคณะกรรมการการเงิน อนุมัติ แล้วแต่กรณี โดยให้เก็บหลักฐานการจ่ายเงินและดำเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น ข้อ ๑๗ การใช้จ่ายเงินสํ าหรับโครงการ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องจ่ายเป็นเงินสดให้ใช้วิธียืมเงิน รองจ่ายโดยหัวหน้าโครงการ ทั้งนี้ ผู้มีอํานาจสั่งจ่ายเงินอาจพิจารณากําหนดวงเงินยืมรองจ่ายได้ตามความ จําเป็นและเหมาะสม ๖ ข้อ ๑๘ การจ่ายเงินทุกรายการของโครงการจะจ่ายได้ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากผู้มีอํานาจสั่งจ่ายแล้ว โดยให้ดําเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยการบริหารการเงิน ระเบียบและประกาศที่ เกี่ยวข้องที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น ข้อ ๑๙ ในกรณีที่ต้องมีการจ่ายค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกิดขึ้นหรือเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินโครงการ ให้จ่ายจากหมวดสํารองของโครงการ และเงินที่เหลืออยู่ในงบประมาณซึ่งยังไม่ได้เบิกจ่าย ตามลำดับก่อน ในกรณีที่เงินสำรองหรือเงินที่เหลืออยู่ในงบประมาณไม่เพียงพอจ่ายค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกิดขึ้นหรือเกี่ยวเนื่องกับการดำเนินโครงการตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าโครงการและผู้ร่วมโครงการมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจ่ายร่วมกัน ทั้งนี้ ในกรณีที่มีผู้ร่วมโครงการหลายราย ให้ผู้ร่วมโครงการ แต่ละรายมีหน้าที่และความรับผิดชอบเฉพาะในส่วนของตน

หมวด ๔ การดำเนินการทางพัสดุ ข้อ ๒๐ การจัดหาพัสดุจะทำได้เฉพาะพัสดุที่มีลักษณะเฉพาะเพื่อโครงการนั้นเท่านั้น และจะต้องอยู่ภายใต้งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ ข้อ ๒๑ การดำเนินการทางพัสดุของโครงการ ให้ดำเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบ และประกาศที่เกี่ยวข้อง ที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น หมวด ๔ การดำเนินการทางพัสดุ ข้อ ๒๐ การจัดหาพัสดุจะทำได้เฉพาะพัสดุที่มีลักษณะเฉพาะเพื่อโครงการนั้นเท่านั้น และจะต้องอยู่ภายใต้งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ ข้อ ๒๑ การดำเนินการทางพัสดุของโครงการ ให้ดำเนินการตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบ และประกาศที่เกี่ยวข้อง ที่ใช้บังคับอยู่ ณ ขณะนั้น

หมวด ๕ การรายงานการเงิน ข้อ ๒๒ ให้คณะหรือส่วนงานผู้รับผิดชอบโครงการเก็บหลักฐานทางการเงินเพื่อการตรวจสอบ ข้อ ๒๓ ให้หัวหน้าโครงการจัดทำรายงานการรับจ่ายเงินและเสนอมหาวิทยาลัยเพื่อทราบภายใน หกสิบวันนับแต่วันสิ้นสุดโครงการ ทั้งนี้ ในกรณีของคณะให้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ ข้อ ๒๔ ให้คณะหรือส่วนงานสรุปโครงการ ตลอดจนรายงานการรับจ่ายเงินของทุกโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จในปีบัญชีและเสนอสภามหาวิทยาลัยเพื่อทราบภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีนั้น ทั้งนี้ ในกรณีของคณะให้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ ข้อ ๒๕ เมื่อสิ้นสุดโครงการ หากมีเงินรายได้เหนือรายจ่ายให้ถือเป็นรายได้ของคณะผู้รับผิดชอบโครงการหรือส่วนงานแล้วแต่กรณี หรือตามที่กำหนดไว้ในประกาศโครงการ หมวด ๕ การรายงานการเงิน ข้อ ๒๒ ให้คณะหรือส่วนงานผู้รับผิดชอบโครงการเก็บหลักฐานทางการเงินเพื่อการตรวจสอบ ข้อ ๒๓ ให้หัวหน้าโครงการจัดทำรายงานการรับจ่ายเงินและเสนอมหาวิทยาลัยเพื่อทราบภายใน หกสิบวันนับแต่วันสิ้นสุดโครงการ ทั้งนี้ ในกรณีของคณะให้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ ข้อ ๒๔ ให้คณะหรือส่วนงานสรุปโครงการ ตลอดจนรายงานการรับจ่ายเงินของทุกโครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จในปีบัญชีและเสนอสภามหาวิทยาลัยเพื่อทราบภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีนั้น ทั้งนี้ ในกรณีของคณะให้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ ข้อ ๒๕ เมื่อสิ้นสุดโครงการ หากมีเงินรายได้เหนือรายจ่ายให้ถือเป็นรายได้ของคณะผู้รับผิดชอบโครงการหรือส่วนงานแล้วแต่กรณี หรือตามที่กำหนดไว้ในประกาศโครงการ

ระบบงานเทคโนโลยี :CU-ERP Fund 2600049800 บัญชีบ่อพักของสถาบัน เอเซียศึกษา FundCenter 236020xxxx คก.บริการวิชาการสถาบันเอเซียศึกษา FA 2541600020xxxx คก.บริการวิชาการสถาบันเอเซียศึกษา

งบประมาณ การนำเข้างบประมาณ การปรับปรุงงบประมาณ การยกยอดงบประมาณคงเหลือ

การนำเข้างบประมาณ บริหารจัดการโครงการในระบบงานโดย เมื่อข้อเสนอโครงการได้รับการพิจารณาอนุมัติ ตามข้อบังคับฯ จัดทำแผนงบประมาณ YY9 ในระบบงาน CU-ERP แจ้งสำนักบริหารยุทธศาสตร์และการงบประมาณ (พร้อมหลักฐานการอนุมัติ) ให้ยกงบประมาณจาก YY9 เป็น plan0 และ Budget0 ดำเนินการด้านการเงินและการพัสดุ(ถ้ามี) แบบฟอร์ม คือ Planco02 การนำเข้างบประมาณ ให้นำเข้าในปีที่อนุมัติ โครงการ ยกเว้นอนุมัติเดือนกันยายน อาจนำเข้าในปีถัดไปได้

การปรับปรุงงบประมาณ กรณีเป็นไปตามข้อบังคับข้อ 14 เป็นการปรับปรุงโครงการฯที่นำเข้างบประมาณในปีที่ปรับปรุงฯ ให้ทำตามขั้นตอนการนำเข้างบประมาณ ซ้ำอีกครั้ง ด้วยวิธีการ รีเซตและเขียนทับ เป็นการปรับปรุงโครงการฯที่ยกยอดมาจากปีก่อนหน้า ให้ใช้แบบฟอร์ม Planco07 กรณีการปรับปรุงไม่เป็นไปตามช้อบังคับข้อ 14 ปรับปรุงเพิ่มประมาณการรายจ่าย เงื่อนไข คณะกรรมการบริหารส่วนงานเห็นชอบ และแผนงบประมาณที่ปรับปรุงสอดคล้องกับแผนงบประมาณรายจ่ายที่อนุมัติไว้เดิม

การยกยอดงบประมาณคงเหลือ โครงการฯที่ได้รับอนุมัติและนำเข้างบประมาณในระบบ CU-ERP แล้ว แต่ยังดำเนินการไม่เสร็จสิ้น ก่อนที่จะเปลี่ยนปีบัญชี ให้แจ้งดำเนินการยกยอดงบประมาณคงเหลือข้ามปีบัญชี (แบบฟอร์ม Planco04) ไปปีถัดไป เพื่อบริหารจัดการโครงการต่อเนื่อง ถ้าโครงการมีรายการครุภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ (PR/PO) ให้แจ้งเลขที่ PR/PO ให้ยกยอดงบประมาณ ของ PR/PO ไปด้วย (แบบฟอร์ม Planco03) พร้อมระบุรายการไว้ที่ Planco04 ด้วย

ถาม-ตอบ วันดี จงคงคา โทร 02-218-80061