บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
Software Development and Management
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
Contribute “Stay strong not stand alone”. อ.ที่ปรึกษา อ.ดร.เขมกร ไชยประสิทธ์ บุคลากร พี่เดียร์ สโรชินี ศิลปานันทกุล ภาคการเงิน นุก น.ส.มณีรัตน์
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
วิชา การบริหารระบบข้อมูลสำหรับโลจิสติกส์
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
Transportation Management System ( TMS )
Supply Chain Logistics
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS ) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1 ระบบ TMS ระบบ TMS ของโครงการสามารถเป็นเครื่องมือสนับสนุนผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุกได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดทีมผู้พัฒนาระบบได้ทำการศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของระบบดังกล่าวที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมถึงได้ทำการสำรวจกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) ของผู้ประกอบการและความคาดหวังของผู้ประกอบการต่อระบบ TMS เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1 จุดเด่นของระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศ TMS ที่พัฒนาโดยสำนักงานโลจิสติกส์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ 7.1.1.1 ระบบถูกพัฒนาออกแบบให้สอดคล้องกับกระบวนการดำเนินธุรกิจ (Business Process) ของผู้ประกอบการบริการขนส่ง (Logistics Service Provider) โดยโมดูลต่างๆ ถูกออกแบบให้เป็นไปตามลำดับขั้นของกระบวนการขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการ Work order Management, Bill Invoice, Cost Analysis, Cargo Management, Truck Management, Driver Management, Customer Management, Planning of Routing, Tracking System, Reporting System อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1 จุดเด่นของระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศ TMS อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.2 ระบบถูกพัฒนาออกแบบเมนูและฟังก์ชั่นการใช้งานแบบ User Interfacing Design ทำให้การใช้งานระบบง่าย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.3 ระบบติดตั้งเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูลที่หลากหลาย เช่น การกรอง การค้นหาข้อมูล ฟังก์ชั่นการเรียงลำดับข้อมูล เป็นต้น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.4 ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) ในการวางแผนการขนส่งและกำหนดเส้นทาง อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.5 ระบบเชื่อมโยงกับ GPS Tracking ในการติดตามสถานการณ์ขนส่งอย่าง real time ซึ่งทำงานบน Android Application อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.5 ระบบเชื่อมโยงกับ GPS Tracking ในการติดตามสถานการณ์ขนส่งอย่าง real time ซึ่งทำงานบน Android Application อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.6 ระบบติดตั้งเครื่องมือในการประมูลผลข้อมูลด้านการคำนวณ ต้นทุน ค่าใช้จ่ายและกำไร ขาดทุน ของการบริการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.7 ระบบมีการจัดการฐานข้อมูลที่สามารถออกรายงานได้หลายมิติและ customize ครอบคลุมความต้องการของผู้ประกอบการขนส่งรถบรรทุก อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

รถบรรทุกซึ่งเป็นสินทรัพย์ 7.1.1.8 ระบบ ติดตั้ง warning system ในการบริหารการบำรุงรักษา (Maintenance Management) และการเปลี่ยนอะไหล่ ซึ่งช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนการบำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงและยืดอายุการใช้งานและการเสื่อมสภาพของ รถบรรทุกซึ่งเป็นสินทรัพย์ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.9 ระบบพัฒนาให้มีการเชื่อมโยงและinterfacing ระหว่างระบบ TMS และระบบ Backhauling อย่างอัตโนมัติ ทาให้การบริหารการขนส่งเป็นไปอย่างครบวงจร ซึ่งรวมไปถึงการลดการวิ่งรถเที่ยวเปล่า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.1.1.10 ระบบถูกพัฒนาออกแบบที่สามารถใช้ได้ทั้งในระบบ Web base Application และในระบบ Stand Alone เพิ่มความยืดหยุ่น (Flexibility) ในการใช้ระบบของผู้ประกอบการ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (1) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการขนส่ง โดยลดเวลาเรื่องการดำเนินงานของพนักงาน ปฏิบัติงานในการทาเอกสาร การวางแผนการขนส่ง รวมถึงจัดทำรายงาน (2) ลดความผิดพลาดของการทำงานของพนักงานปฏิบัติการ เช่น การออกใบส่งสินค้าผิด การป้อนข้อมูล Bill invoice ผิด เป็นต้น (3) ลดต้นทุนการดำเนินงานการบริหารการขนส่ง (4) การเพิ่มการใช้งานรถบรรทุก (Utilization) อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการคำนึงถึงการ บำรุงรักษาและยืดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (5) เพิ่มความเชื่อถือและภาพลักษณ์ที่ดีต่อลูกค้าในการใช้ระบบสนับสนุนสารสนเทศในการบริหารจัดการบริการขนส่ง (6) ระบบ TMS ถูกพัฒนาให้สามารถใช้งานได้ในระบบ online และ Stand alone ซึ่งทาให้ ผู้ประกอบการมีความยืดหยุ่นต่อการใช้งาน (7) ระบบ TMS ในโครงการนี้เป็น Free Ware ซึ่งทำให้ผู้ประกอบการลดการลงทุนในระบบ สารสนเทศ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

7.2 ประโยชน์การใช้งานระบบ TMS ผู้ประกอบการบริการขนส่ง (LSP) ที่นำระบบ TMS ที่พัฒนาในโครงการนี้ไปใช้ในการบริหารงานการบริการขนส่ง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจดังนี้ (8) สำนักงานโลจิสติกส์อนุญาติให้ผู้ประกอบการนำ Source Code ไปแก้ไขเพื่อให้สามารถ ปรับเปลี่ยนระบบ TMS ให้สอดคล้องกับกระบวนการธุรกิจขององค์กร (9) ระบบ TMS จัดทำระบบ e-training ซึ่งพนักงานขององค์กรสามารถเรียนรู้การใช้งานระบบได้ตลอดเวลา อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์