การพิจารณาสัญชาติของบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพิจารณาสัญชาติของบุคคล กฎหมายสัญชาติในประเทศไทย ฉบับแรก พ.ร.บ.แปลงชาติ ร.ศ. ๑๓๐ ฉบับที่สอง พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๔๕๖ ฉบับที่สาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๔๙๕ ฉบับที่สี่ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๖ ฉบับที่ห้า พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๙ ฉบับที่หก พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๓

ฉบับที่เจ็ด พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ฉบับที่แปด ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๗ ลว. ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕ ฉบับที่เก้า พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่สิบ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑

พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๔๕๖ (มีผลตั้งแต่ ๑๐ เมษายน ๒๔๕๖ ถึง ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๕) มาตรา ๓ บุคคลเหล่านี้ได้บัญญัติว่าเป็นคนไทย คือ (๑) บุคคลผู้ได้กำเนิดแต่บิดาเป็นคนไทย แม้เกิดใน พระราชอาณาจักรก็ดี เกิดนอกพระราชอาณาจักรก็ดี (๒) บุคคลผู้ได้กำเนิดแต่มารดาเป็นคนไทย แต่ฝ่ายบิดาไม่ปรากฏ (๓) บุคคลผู้ได้กำเนิดในพระราชอาณาจักรสยาม ฯลฯ

พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๔๙๕ (มีผลตั้งแต่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๕ ถึงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๐๘) มาตรา ๗ บุคคลดังต่อไปนี้ ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (๑) ผู้เกิดโดยบิดาเป็นคนไทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือ นอกราชอาณาจักร (๒) ผู้เกิดโดยมารดาเป็นคนไทย แต่ไม่ปรากฏบิดาที่ชอบด้วยกฎหมายหรือบิดาไม่มีสัญชาติ ไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักร (๓) ผู้เกิดในราชอาณาจักร

พ. ร. บ. สัญชาติ (ฉบับที่ ๒) พ. ศ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๖ (มีผลตั้งแต่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖ ถึงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๐๘) มาตรา ๗ บุคคลดั่งต่อไปนี้ ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (๑) ผู้เกิดโดยบิดาเป็นคนไทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือ นอกราชอาณาจักร (๒) ผู้เกิดนอกราชอาณาจักรโดยมารดาเป็นคนไทย แต่ไม่ปรากฏบิดาที่ชอบด้วยกฎหมาย หรือบิดาไม่มีสัญชาติ (๓) ผู้เกิดในราชอาณาจักรโดยมารดาเป็นคนไทย (มาตรานี้มีผลตั้งแต่วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๖ ถึงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐)

พ. ร. บ. สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ. ศ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๙ (มีผลตั้งแต่วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐ ถึงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๐๘) “มาตรา ๗ บุคคลดังต่อไปนี้ ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (๑) ผู้เกิดโดยบิดาเป็นคนไทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือ นอกราชอาณาจักร (๒) ผู้เกิดนอกราชอาณาจักรโดยมารดาเป็นคนไทย แต่ ไม่ปรากฏบิดาที่ชอบด้วยกฎหมายหรือบิดาไม่มีสัญชาติ (๓) ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย” มาตรา ๔ บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยโดยมารดามิใช่คนไทยใน ระหว่างใช้พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๔๙๖ ย่อมได้สัญชาติไทย

(บังคับใช้เมื่อ 5 สิงหาคม 2508) พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2508 (บังคับใช้เมื่อ 5 สิงหาคม 2508) มาตรา 7 บุคคลต่อไปนี้ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกิดโดยบิดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าเกิดในหรือ นอกราชอาณาจักร (2) ผู้เกิดนอกราชอาณาจักรโดยมีมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย แต่ไม่ปรากฏบิดาตามกฎหมาย หรือบิดาไม่มีสัญชาติ (3) ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย คำว่า “บิดา” ตาม (1) ให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นบิดาของผู้เกิด... แม้ผู้นั้นจะมิได้จดทะเบียนสมรส...

ปว. 337 ลว. 13 ธ.ค. 2515 (14 ธ.ค. 2515 - 25 ก.พ. 2535) ข้อ 1 ให้ถอนสัญชาติไทยของบรรดาบุคคลที่เกิดในราชอาณาจักรไทย โดยบิดาเป็นคนต่างด้าว หรือมารดาเป็นคนต่างด้าว แต่ไม่ปรากฏบิดา ที่ชอบด้วยกฎหมาย และในขณะที่เกิดบิดาหรือมารดาเป็น (1) ผู้ที่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ (2) ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเพียงชั่วคราว (3) ผู้ที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมือง ข้อ 2 บุคคลตามข้อ 1 ผู้เกิดในราชอาณาจักร เมื่อประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ ใช้บังคับแล้วไม่ได้สัญชาติไทย เว้นแต่ รมว.มท. พิจารณาเห็นสมควรและ สั่งเฉพาะรายเป็นอย่างอื่น

ฎีกาที่ ๔๖๘/๒๕๒๔ @ ฎีกาสำคัญที่เดินตาม เช่น ฎีกาที่ ๕๖๐/๒๕๔๓ คำว่า “บิดา” ในประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๗ ตลอดจนในมาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๑๔ ... แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ย่อมหมายถึงบิดาโดยชอบด้วยกฎหมาย เมื่อกฎหมายสัญชาติจะให้หมายถึงบิดาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย กฎหมายนี้ก็จะระบุให้ชัดเจน @ ฎีกาสำคัญที่เดินตาม เช่น ฎีกาที่ ๕๖๐/๒๕๔๓

ตด.(ชั่วคราว) ไทย จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย ปว. 337 ไม่ได้ไทย

ไทย ตด.(ชั่วคราว) ปว. 337 ไม่ได้ไทย ไม่จด ไม่จด ไทย ตด.(ชั่วคราว) ไม่จด ไม่จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย ปว. 337 ไม่ได้ไทย

ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) ไม่จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย ปว. 337 ไม่ได้ไทย

ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย ปว. 337 ไม่ได้ไทย

ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) จด ไม่จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย ปว. 337 ไม่ได้ไทย

พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 (บังคับใช้เมื่อ 26 ก.พ. 2535) มาตรา 7 บุคคลต่อไปนี้ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกิดโดยบิดา หรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักร (2) ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นบุคคล ตามมาตรา 7 ทวิ วรรคหนึ่ง

มาตรา 7 ทวิ ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย โดยมีบิดาและมารดาเป็น คนต่างด้าว ย่อมไม่ได้สัญชาติไทย ถ้าในขณะที่เกิดบิดาตามกฎหมาย หรือ บิดาที่ไม่ได้สมรสกับมารดา หรือมารดาเป็น (1) ผู้ที่ได้รับการผ่อนผันให้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ (2) ผู้ที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว (3) ผู้ที่เข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมือง

องค์ประกอบตามมาตรา ๗ ทวิ ๑. บิดาและมารดา เป็นคนต่างด้าว (พ่อแม่ทั้งสองคน) ๒. บิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งเข้าเงื่อนไข อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ * เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตให้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นกรณีพิเศษ (มีมติ ครม. หรือประกาศ มท. รองรับ) * เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในประเทศได้ชั่วคราว * เป็นผู้หลบหนีเข้าเมือง

มาตรา ๗ ทวิ วรรคท้าย ให้ถือว่าผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยซึ่งไม่ได้สัญชาติไทยตาม วรรคหนึ่ง เป็นผู้ที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เว้นแต่จะมีการสั่งการ เป็นอย่างอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น

ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) จด/ไม่จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย (ฉ. 2) พ.ศ.2535 ไม่ได้ไทย ม. 7 ทวิ/ ม. 11

ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ใบสำคัญฯ) จด/ไม่จด พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย (ฉ. 2) พ.ศ. 2535 ไม่ได้ไทย ม. 7 ทวิ/ ม. 11

ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) ตด.(ชั่วคราว) จด ไม่จด (ฉ. 2) พ.ศ. 2535 ไม่ได้ไทย พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2508 ไทย

ปว. 337 ทำให้บุคคลเสียสัญชาติไทย 6 กลุ่ม ปว. 337 ทำให้บุคคลเสียสัญชาติไทย 6 กลุ่ม 1) มีบิดาเป็นไทย ไม่สมรสกับมารดาต่างด้าวเข้าเงื่อนไข 2) มีบิดาเป็นต่างด้าวเข้าเงื่อนไข สมรสกับมารดาไทย 3) มีบิดาเป็นต่างด้าวที่มีใบ ฯ ไม่สมรสกับมารดาต่างด้าวเข้าเงื่อนไข 4) มีบิดาเป็นต่างด้าวเข้าเงื่อนไข สมรสกับมารดาต่างด้าวที่มีใบ ฯ 5) มีบิดาเป็นต่างด้าวเข้าเงื่อนไข สมรสกับมารดาต่างด้าวเข้าเงื่อนไข 6) มีบิดาเป็นต่างด้าวเข้าเงื่อนไข ไม่สมรสกับมารดาต่างด้าวเข้าเงื่อนไข กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ได้ไทยกลับคืนตามมาตรา 7 และมาตรา 10 กลุ่มที่ 3 ถึง 6 ที่เกิดก่อนวันที่ 14 ธ.ค.15 ได้คืนสัญชาติไทย ตามประกาศ มท. ลว.17 ก.ย.47 ส่วนผู้ที่เกิด 14 ธ.ค.15-25 ก.พ.35 ยังไม่ได้สัญชาติไทย

พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ทำให้บุคคลเสียสัญชาติไทย 2 กลุ่ม พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ทำให้บุคคลเสียสัญชาติไทย 2 กลุ่ม 1) มีบิดาเป็นต่างด้าวมีใบฯ สมรสกับมารดาต่างด้าวเข้าเงื่อนไข 2) มีบิดาเป็นต่างด้าวเข้าเงื่อนไข ไม่สมรสกับมารดาต่างด้าวมีใบฯ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ได้คืนสัญชาติไทยตามมาตรา 7 ทวิ วรรคสอง และมาตรา 11 วรรคท้าย โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2538

ประกาศ มท. เรื่อง การสั่งให้บุคคลซึ่งเคยมีสัญชาติไทยก่อนวันที่พระราชบัญญัติ สัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ใช้บังคับได้สัญชาติไทย ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2538 …………………. …ให้บุคคลซึ่งมีลักษณะตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ได้สัญชาติไทยเป็นการทั่วไป (1) เคยมีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทย (2) ไม่ถูกถอนสัญชาติไทยหรือไม่อยู่ในบังคับที่จะไม่ได้สัญชาติไทยตาม ปว. 337 (3) ขณะที่เกิดบิดาหรือมารดาที่ชอบด้วยกฎหมายไม่เป็นบุคคลตาม มาตรา 7 ทวิ (1) (2) หรือ (3) แห่ง พ.ร.บ.สัญชาติฯ และ (4) เกิดก่อนวันที่ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ใช้บังคับ

ประกาศ มท. เรื่อง การสั่งให้บุคคลซึ่งถูกถอนสัญชาติไทย ตาม ปว ประกาศ มท.เรื่อง การสั่งให้บุคคลซึ่งถูกถอนสัญชาติไทย ตาม ปว.๓๓๗ และบุตรหลาน ได้สัญชาติไทย ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๗ ...ให้บุคคลที่เกิดในราชอาณาจักรไทยและเคยมีสัญชาติไทย แต่ถูกถอนสัญชาติตาม ปว.๓๓๗ (เกิดก่อน ๑๔ ธันวาคม ๒๕๑๕) และบุตรหลานที่เกิดในราชอาณาจักรไทยก่อนวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ เฉพาะที่ไม่ได้สัญชาติไทยโดยการเกิด โดยเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ ได้สัญชาติไทยเป็นการทั่วไป

(๒) มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่งในประเทศไทย (๑) มีชื่อหรือเคยมีชื่อในระบบการทะเบียนราษฎร (๒) มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่งในประเทศไทย ติดต่อกันเป็นเวลานาน (๓) เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข (๔) มีความประพฤติดี

ผลการพิจารณาสัญชาติ กรณีเกิดในประเทศไทย พ่อไทย และ แม่ไทย จะสมรสหรือไม่ ลูกไทยโดยการเกิดตามสายโลหิต พ่อไทย หรือ แม่ไทย จะสมรสหรือไม่ ลูกไทยโดยการเกิดตามสายโลหิตหรือหลักดินแดน ๓. พ่อต่างด้าวมีใบสำคัญฯ และ แม่ต่างด้าวมีใบสำคัญฯ ลูกไทยโดยการเกิดตามหลักดินแดน ม.๗ (๒)

๔. พ่อต่างด้าวมีใบสำคัญฯ สมรส แม่ต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๒๖ ก.พ.๓๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๖ มิ.ย.๓๘ ลูกเกิดตั้งแต่ ๒๖ ก.พ.๓๕ ไม่ได้ไทย ตาม ม.๗ ทวิ ๕. พ่อต่างด้าวมีใบสำคัญฯ ไม่สมรส แม่ต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๑๔ ธ.ค.๑๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๑๗ ก.ย.๔๗ ลูกเกิดตั้งแต่ ๑๔ ธ.ค.๑๕ ไม่ได้ไทย ตาม ปว.๓๓๗ ม.๗ ทวิ

๖. พ่อต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ สมรส แม่ต่างด้าวมีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๑๔ ธ.ค.๑๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๑๗ ก.ย.๔๗ ลูกเกิดตั้งแต่ ๑๔ ธ.ค.๑๕ ไม่ได้ไทย ตาม ปว.๓๓๗ ม.๗ ทวิ ๗. พ่อต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ไม่สมรส แม่ต่างด้าวมีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๒๖ ก.พ.๓๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๖ มิ.ย.๓๘ ลูกเกิดตั้งแต่ ๒๖ ก.พ.๓๕ ไม่ได้ไทย ตาม ม.๗ ทวิ

การพิจารณาสัญชาติกรณีบุตรหลานของผู้ถูกถอนสัญชาติ ตาม ปว.๓๓๗ ข้อ ๑ พ่อต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ และ แม่ต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๑๔ ธ.ค.๑๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๑๗ ก.ย.๔๗ ลูกเกิดตั้งแต่ ๑๔ ธ.ค.๑๕ ไม่ได้ไทย ตาม ปว.๓๓๗ ม.๗ ทวิ การพิจารณาสัญชาติกรณีบุตรหลานของผู้ถูกถอนสัญชาติ ตาม ปว.๓๓๗ ข้อ ๑ พ่อถูกถอนสัญชาติ สมรส แม่ต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ลูกไทย เนื่องจากไม่เข้าเงื่อนไขตาม ปว.๓๓๗ และ ม.๗ ทวิ

พ่อถูกถอนสัญชาติ ไม่สมรส แม่ต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ลูกเกิดก่อน ๒๖ ก.พ.๓๕ ได้ไทย ตามประกาศ ๑๗ ก.ย.๔๗ ลูกเกิดตั้งแต่ ๒๖ ก.พ.๓๕ ไม่ได้ไทย ตาม ม.๗ ทวิ พ่อต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ สมรส แม่ถูกถอนสัญชาติ พ่อต่างด้าวไม่มีใบสำคัญฯ ไม่สมรส แม่ถูกถอนสัญชาติ ลูกไทย เนื่องจากไม่เข้าเงื่อนไขตาม ปว.๓๓๗ และ ม.๗ ทวิ

หลาน (ไม่ได้ไทย) ต่างด้าวเข้าเงื่อนไข ช่วงเวลาที่เกิด ปู่ + ย่า ปู่ + ย่า ก่อน 14 ธ.ค. 2515 พ่อ (ถูกถอน) (เข้าเงื่อนไข) ไม่จด ตั้งแต่ 14 ธ.ค. 2515 ถึง 25 ก.พ. 2535 ลูก (ไม่ได้ไทย) (เข้าเงื่อนไข) ไม่จด หลาน (ไม่ได้ไทย)

หลาน (ไม่ได้ไทย) ช่วงเวลาที่เกิด ต่างด้าวเข้าเงื่อนไข ตา + ยาย ตา + ยาย ก่อน 14 ธ.ค. 2515 แม่ (ถูกถอน) (เข้าเงื่อนไข) จด ตั้งแต่ 14 ธ.ค. 2515 ถึง 25 ก.พ. 2535 ลูก (ไม่ได้ไทย) (เข้าเงื่อนไข) จด หลาน (ไม่ได้ไทย)

! กรณีเด็กเกิดต่างประเทศ พ่อไทย สมรส แม่ต่างด้าว ลูกไทยโดยการเกิดตามสายโลหิต พ่อไทย ไม่สมรส แม่ต่างด้าว ลูกไม่ได้ไทย ตามฎีกา ๕๖๐/๒๕๔๓ พ่อต่างด้าว สมรส/ไม่สมรส แม่ไทย