การเก็บรวบรวมข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการวิจัย Research Design
Advertisements

วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การสังเกตการณ์ (Observation).
บทที่ 7 การรวบรวมข้อมูลวิจัย
การออกแบบการวิจัย.
ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
วิจัยเชิงคุณภาพ…ไม่ยากอย่างที่คิด
การนำเสนอข้อมูล ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
การวิจัยเชิงคุณภาพ Qualitative Research
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Action Research)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
บทที่ 3 การออกแบบงานวิจัย (ต่อ)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
บทที่ 8 เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยในชั้นเรียน( Classroom Action Research)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
การวิเคราะห์คำค้น ในรูปแบบ Word Cloud เพื่อสนับสนุนงานบริการสารสนเทศของห้องสมุด Keywords Analysis in Word Cloud for supporting library information services.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
พระพุทธศาสนา.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Introduction to Public Administration Research Method
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ความหมายของการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล หมายถึง การค้นหาคำตอบของปัญหาในการวิจัยนั่นเอง ซึ่งเป็นขั้นตอนการปฏิบัติที่มีความสำคัญอย่างยิ่งขั้นตอนหนึ่ง โดยนักวิจัยจะต้องใช้เทคนิค และวิธีการต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล หรือข่าวสารที่ต้องการอย่างสมบูรณ์ ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ

ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยทำการเก็บ (Collection) ขึ้นมาใหม่เพื่อให้ตรงประเด็นกับเรื่องที่กำลังศึกษาอยู่ 2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้อื่นได้ทำการเก็บรวบรวมหรือประมวลผลข้อมูลไว้แล้ว และผู้วิจัยไปทำการรวบรวม (Compilation) ข้อมูลเหล่านั้นเพื่อมาทำการวิเคราะห์ในประเด็นที่ต้องทำการศึกษา

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีหลายวิธีด้วยกัน แต่ที่นิยมกันมากมี 5 วิธี ดังนี้ 1.การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary or Library Method) 2.การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต (Observation Method) 3.การรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ (Interview Method) 4.การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถาม (Questionnaire Method) 5.การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยกรใช้แบบทดสอบ (Test Method)

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการค้นคว้าจากเอกสาร เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นแรกเมื่อเริ่มทำวิจัย โดยนักวิจัยจะต้องศึกษาผลงานที่เกี่ยวข้องจากเอกสารสิ่งตีพิมพ์ หรือค้นคว้าจากห้องสมุด โดยเฉพาะถ้าเป็น Library Research (การวิจัยศึกษาข้อมูลจากเอกสารในห้องสมุด) เพื่อนำมาประกอบการวิจัย ดังนั้น การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร จึงเป็นการไปค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลที่มีข้อมูลชนิดทุติยภูมิ

แหล่งเอกสาร พอจะสรุปได้ดังนี้ หนังสือทั่วไป ภาพยนตร์ หนังสืออ้างอิง ภาพถ่ายจากของจริง เอกสารทางราชการ จดหมายและอนุทิน วิทยานิพนธ์ โบราณวัตถุ (Relic) และสิ่งปรักหักพัง แม้ไม่ใช้เอกสารโดยตรง แต่สามารถใช้อ้างอิงได้ วารสาร หนังสือพิมพ์

ข้อดีข้อเสียของการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการค้นคว้าจากเอกสาร การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารมีส่วนที่ดี คือ เป็นการสะดวกในการวิจัย เพราะใช้ทุนทรัพย์น้อย ใช้เวลาน้อย และใช้จำนวนคนเก็บข้อมูลจำนวนน้อย วิธีนี้มีข้อเสียที่อาจเกิดได้อยู่ 2 ประการ คือ - อาจเป็นข้อมูลที่หายากหรือไม่เพียงพอ - การคัดเลือกข้อมูลไม่เหมาะสม

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต วิธีการสังเกต มี 2 วิธี คือ การสังเกตโดยเข้าร่วมเป็นสมาชิก (Participant Observation) หมายถึง ผู้สังเกตจะต้องเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรมกับผู้ถูกสังเกต การสังเกตโดยไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก (Non-Participant Observation) เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้เข้าร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม เพียงแต่เฝ้าดู หรือสังเกตอยู่ภายนอกกลุ่ม

การเตรียมการสังเกตมี 2 วิธี คือ 1 การสังเกตโดยไม่มีเค้าโครง (Unstructured Observation) หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้กำหนดหัวข้อให้แน่นอน 2 การสังเกตโดยมีเค้าโครง (Structured Observation) หมายถึง การสังเกตที่มีการกำหนดเค้าโครงไว้อย่างแน่นอน

ข้อดีของการสังเกต มีดังนี้ - ช่วยเก็บข้อมูลในลักษณะที่ไม่สามารถจะพูดหรืออธิบายให้เข้าใจได้ - สามารถได้รายละเอียดต่างๆได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งถ้าเก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์อาจไม่ได้คำตอบที่จริงใจ จึงควรใช้การสังเกตเข้าช่วย - ช่วยทำให้ทราบข้อมูลที่ผู้ตอบปกปิด หรือไม่เต็มใจตอบ - จะได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และความสมบูรณ์ได้มากกว่า - เป็นการเก็บข้อมูลจากเหตุการณ์จริงๆนับได้ว่าเป็นข้อมูลชนิดปฐมภูมิ

ข้อเสียของการสังเกต มีดังนี้ - ไม่สามารถเฝ้าดูเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมๆกันได้ - ต้องใช้เวลารอคอยปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง - ไม่สามารถสังเกตเรื่อส่วนตัวที่เป็นความลับ - ผลของการสังเกตจะใช้ได้ในวงแคบเท่านั้น

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลแบบเผชิญหน้า (Face-to-face Contract) อาศัยการสนทนาซักถามระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์ ดังนั้น ผู้สัมภาษณ์ควรจะเป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ค่อนข้างสูง จึงจะทำให้การสัมภาษณ์บรรลุเป้าหมายได้ตามต้องการ

การเลือกนักสัมภาษณ์ เป็นสิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัยควรคำนึงถึง วิธีการสัมภาษณ์ที่สำคัญมี 2 แบบ คือ การสัมภาษณ์โดยใช้แบบ(Structured Interview)เป็นการสัมภาษณ์ตามแบบที่ได้สร้างขึ้นไว้ล่วงหน้าเรียบร้อยแล้ว การสัมภาษณ์โดยไม่ใช้แบบ(Unstructured Interview)แม้การสัมภาษณ์จะไม่อาศัยแบบการสัมภาษณ์เลยก็ตาม แต่จะต้องกำหนดแนวหัวข้อสัมภาษณ์(Questionnaire Guide)เอาไว้ด้วย สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ การสัมภาษณ์แบบเจาะจง การสัมภาษณ์แบบหยั่งลึก การสัมภาษณ์แบบกลอนสด

ลำดับขั้นตอนการเตรียมสัมภาษณ์ ควรจะทำเป็นลำดับขั้นตอนต่อไปนี้ 1 กำหนดจุดมุ่งหมายของกรสัมภาษณ์ 2 ศึกษาหัวเรื่องที่จะไปเก็บข้อมูลอย่างละเอียด 3 ไปสำรวจพื้นที่ที่จะไปเก็บข้อมูล 4 ศึกษากลุ่มตัวอย่างที่จะไปสัมภาษณ์ 5 กำหนด วัน เวลา สถานที่ และกลุ่มตัวอย่างที่จะสัมภาษณ์ 6 ทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวโยงกับกลุ่มตัวอย่าง 7 กำหนดแบบของการสัมภาษณ์ให้สอดคล้องกับความเป็นอยู่ 8 สร้างแบบสัมภาษณ์

9 ทำการทดสอบแบบสัมภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติคล้ายๆกับกลุ่มตัวอย่างจริง 10 ทำคู่มือการสัมภาษณ์ 11 จัดอบรมผู้สัมภาษณ์ให้เข้าใจแบบสอบถามในแนวเดียวกันทุกคน 12 จัดเตรียมรายชื่อของผู้ที่ให้สัมภาษณ์ และแผนผังการเดินทาง 13 จองที่พักล่วงหน้า และจัดเตรียมยานพาหนะให้เรียบร้อย 14 เตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ขณะเก็บข้อมูล 15 ประชาสัมพันธ์ไปยังผู้ที่จะถูกสัมภาษณ์ล่วงหน้า 16 แบ่งผู้ถูกสัมภาษณ์ออกเป็นกลุ่มย่อย เพื่อสะดวกในการควบคุมและจัดเก็บข้อมูล

ปัญหาในการสัมภาษณ์ - ปัญหาของผู้สัมภาษณ์มักมีความเอนเอียงต่อข้อมูลของตน - ปัญหาด้านภาษา - ปัญหาเกี่ยวกับการเป็นคนแปลกหน้า - ปัญหาเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี - ปัญหาที่เกิดจากการดำเนินการเก็บข้อมูล

ข้อดีข้อเสียของการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีสัมภาษณ์ - ช่วยแก้ปัญหาในการได้รับแบบสอบถามคืนน้อย - การสัมภาษณ์สามารถสังเกตสภาพการณ์ต่างๆไปในตัวด้วย - สามารถขยายความ และชี้แจงข้อคำถามที่ยังไม่ชัดเจนให้กระจ่างได้ - เหมาะสำหรับประชากรที่มีกรศึกษาต่ำ หรืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ - ทำให้ผู้ตอบเกรงความเกรงใจ จึงต้องตอบ - เกิดความสัมพันธ์ส่วนตัว จึงได้ความจริงมากกว่าความเท็จ

ข้อเสีย - สิ้นเปลืองเวลา แรงงาน กำลังคน - มีความจำเป็นต้องเตรียมคนไปสัมภาษณ์ ทำให้เสียเวลามาก และหาคนที่มีคุณสมบัติเพียบพร้อมดังกล่าวได้ยาก - ผู้ตอบอาจเกิดความอายในคำตอบ - ผู้ตอบเกิดความกลัว เพราะคิดว่าเป็นเรื่องราชการ - ผู้สัมภาษณ์อาจเผลอเกิดแสดงความคิดเห็นของตนออกไปโดยไม่เจตนา - ถ้าผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่มีมนุษย์สัมพันธ์ดีพอ ความร่วมมือจะลดต่ำกว่าปกติ

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถาม แบบสอบถาม หมายถึง ชุดของคำถามซึ่งรวบรวมขึ้นอย่งมีกฎเกณฑ์และวิธีการเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ ทัศนคติจากบุคคลต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยแต่ละเรื่อง 1.Check list เป็นแบบสอบถามอีกลักษณะหนึ่งที่การตอบให้ผู้ตอบเลือกคำตอบใดคำตอบหนึ่งจากสองคำตอบ 2.Rating scale เป็นแบบสอบถามที่ลักษณะการตอบเป็นการประเมิณความมากน้อย แบ่งเป็น 3ชนิด คือ มาตราส่วนประเมินค่าแบบจัดประเภท มาตราส่วนประเมิณค่าแบบกำหนดเป็นตัวเลข และมาตราส่วนประเมิณค่าเป็นกราฟ

หลักในการสร้างแบบสอบถาม ประกอบด้วย - คำถามควรให้รัดกุมกะทัดรัด แต่ได้ใจความ - อย่าให้แบบสอบถามยาวเกินไป - การตอบคำถามใช้วิธีแบบขีดถูกขีดผิดหรือประนัยแบบพหุโอกาส เพราะสะดวก และประหยัด - อย่าตั้งคำถามให้ผู้ตอบตอบไม่ถูก - หลีกเลี่ยงการใช้คำถามนำ - หลีกเลี่ยงการใช้คำถามที่ทำให้ผู้ตอบลำบากใจ

- ทุกคำถามควรจะให้มีคำตอบชนิดที่เป็นไปได้ทั้งนั้น - หลีกเลี่ยงคำถามคลุมเครือ - นอกจากวิธีขีดถูกขีดผิด ควรใช้วิธี้ว่นช่องว่างให้เติมประโยคง่ายๆ - ควรเป็นคำถามที่ตรวจสอบไปในตัว - ผู้ออกแบบสอบถามต้องมีความรู้ - ควรใช้ภาษาที่ง่ายๆ - ไม่ควรรวมคำถามตั้งแต่ 2 คำถาม - อย่ถามคำถามที่ไม่เกี่ยวกับปัญหาของการวิจัย - ก่อนจะลงมือสร้างแบบสอบถาม จะต้องสร้างตารงเตรียมการวิเคราะห์

- การจัดเรียงลำดับของคำถาม - สำหรับคำถามเกี่ยวกับเรื่องความคิด และความเชื่อ คำตอบที่จัดเตรียมไว้จะต้องคำนึงถึงคำตอบที่ว่า เฉยๆ หรือ ไม่มีความคิดเห็น - มาตราตวงวัดที่ใช้นั้น ผู้ออกแบบสอบถามจะต้องทำการศึกษาให้ละเอียด - ควรจัดทำคู่มือกรใช้แบบสอบถาม - ก่อนจะนำแบบสอบถามนั้นไปใช้ ควรทำการทดสอบเก็บข้อมูลเบื้องต้นเสียก่อน

รูปแบบของแบบสอบถาม ที่นิยมใช้กันทั่วไปมี 2 รูปแบบ แบบที่ 1 แบบสอบถมปลายปิด แบบสอบถามรูปแบบนี้มีลักษณะเหมือนข้อสอบแบบเลือกตอบ แบบที่ 2 แบบสอบถามปลายเปิด แบบสอบถามรูปแบบนี้ไม่กำหนดคำตอบไว้แน่นอน นอกจาก 2 แบบนี้แล้ว ยังมีแบบสอบถามแบบรูปภาพ เป็นแบบที่ใช้รูปภาพแทนภาษา มีลักษณะคล้ายแบบสอบถามปลายปิด

โครงสร้างแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนแรก คำชี้แจง เป็นการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการต้องการข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วนที่สอง ข้อมูลส่วนตัว ส่วนนี้ถือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้ตอบซึ่งก็คือตัวแปรอิสระที่จะศึกษานั่นเอง เช่น เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม เป็นต้น ส่วนที่สาม ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการศึกษา ซึ่งอาจเป็นความคิดเห็นหรือความสนใจหรือความต้องการหรือปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบ ชนิดของแบบทดสอบ - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นระบบทดสอบวัดความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพสมองด้านต่างๆ - แบบทดสอบวัดความถนัดหรือตัวปัญญา เป็นแบบทดสอบใช้วัดศักยภาพระดับสูงของบุคคล อาจแบ่งย่อยได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบความถนัดในการเรียนและแบบทดสอบความถนัดจำเพาะแบ่งความถนัดเป็น 7 ด้าน - แบบทดสอบวัดความสัมพันธ์ของบุคคลต่อสังคม ประเภทนี้จะวัดเกี่ยวกับบุคลิกภาพหรือการปรับตนเองของบุคคลในสังคม

การวางแผนการสร้างแบบทดสอบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆดังนี้ - กำหนดวัตถุประสงค์ในกรศึกษา - กำหนดลักษณะของแบบทดสอบที่จะใช้ - การสร้างแบบทดสอบ - การสร้างตัวคำถาม - การประเมินคุณภาพของแบบทดสอบ ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความเป็นปรนัย

การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีอื่นๆ 1.การวิเคราะห์เนื้อหาคติชาวบ้าน 2.การเก็บประวัติชุมชน 3.การใช้ข้อมูลส่วนตัวของชาวบ้าน 4.การเก็บรวบรวมวัฒนธรรมทางวัตถุ 5.เครื่องมือเทคโนโลยีในงานวิจัยสนามทางมานุษวิทยา