การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV In April 2016, withdraw type 2
วัตถุประสงค์ของการเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV ให้เกิดความมั่นใจว่าเชื้อไวรัสโปลิโอชนิดที่ 2 ที่มีอยู่ ในวัคซีนถูกทำลายจนหมด ให้เกิดความมั่นใจว่าไม่มีเชื้อไวรัสโปลิโอชนิดที่ 2 ที่มีอยู่ในวัคซีนปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม
การทำลายวัคซีนโดยใช้เตาเผาขยะติดเชื้อ ดำเนินการทำลายวัคซีนในระดับจังหวัด ง่ายต่อการควบคุมกำกับ ตรวจสอบ และยืนยัน การทำลายของจังหวัด วิธีทำลายวัคซีน ทำลายโดยใช้เตาเผาขยะติดเชื้อของโรงพยาบาลในจังหวัด ทำลายโดยใช้เตาเผาขยะติดเชื้อของหน่วยงานปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัด จัดซื้อจัดจ้างบริษัทเอกชนให้ดำเนินการเผาแบบขยะติดเชื้อ
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV เม.ย.59 พ.ค. 59 แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ขออนุมัติจำหน่าย tOPV โดยวิธีการทำลาย ประชุมชี้แจง ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ ระยะเตรียมการ 22 เม.ย. เป็นวันสุดท้ายที่ใช้ tOPV 23 - 25 เม.ย. หน่วยบริการเก็บ รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ระยะดำเนินการ 26 เม.ย. - บริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด ไปรับ tOPV ใน กทม. 28 เม.ย. ทำลาย tOPV 29 เม.ย. National Switch day ระยะหลัง ดำเนินการ 6 พ.ค. ส่งผล การทำลาย tOPV ของจังหวัด ไปสำนักงาน ป้องกัน ควบคุมโรค
ระยะเตรียมการ แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ของกรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบคลังวัคซีนตรวจสอบจำนวนคงคลัง trivalent OPV ที่ยังไม่ได้เปิดใช้ก่อนวันหมดอายุ และเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง เพื่อพิจารณาสั่งให้จําหน่าย ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องทราบเหตุผลความจำเป็นในการเก็บและทำลาย trivalent OPV รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติงาน
คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ของกรุงเทพมหานคร 1. ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ประธาน 2. ผู้แทนจากสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร รองประธาน 3. ผู้แทนจากกองจัดการขยะของเสียอันตรายและ สิ่งปฏิกูล สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร กรรมการ 4. ผู้แทนจากกองโรงงานกำจัดมูลฝอย สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร 5. นักวิชาการสาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 13 6. เภสัชกรผู้รับผิดชอบการบริหารจัดการวัคซีน ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 13 กรรมการและเลขานุการ
บทบาทหน้าที่ อำนวยการ ขับเคลื่อนและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV กำหนดวิธีการเก็บกลับและทำลายตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและปรับให้เหมาะสมตามบริบทตามกรอบเวลา ที่กำหนด รายงานผลการดำเนินการเก็บกลับและทำลายและรวบรวมเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรค เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลความสำเร็จ ในการเก็บกลับและทำลาย ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
หนังสือแจ้งจาก WHO ให้ดำเนินการทำลาย trivalent OPV ตามแนวทางการกวาดล้างโรคโปลิโอ
การลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน ข้อ 161 ส่วนที่ 2 การควบคุม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) ปี 2552 ส่วนที่ 3 การจําหน่าย การลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน ข้อ 161 ส่วนที่ 2 การควบคุม การตรวจสอบพัสดุประจำปี ข้อ 156 ส่วนที่ 3 การจําหน่าย ข้อ 157
การเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ของกรุงเทพมหานคร
ระยะดำเนินการ การเก็บรวบรวม trivalent OPV หน่วยบริการ คลังวัคซีนสำนักอนามัย กรุงเทพฯ การรับวัคซีนจากหน่วยบริการและคลังวัคซีน สำนักอนามัย ของ บริษัทกรุงเทพธนาคม การทำลายวัคซีนของกรุงเทพมหานคร
หน่วยบริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร หน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐที่ให้บริการวัคซีนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และคลังวัคซีนที่สำรองวัคซีนเพื่อให้บริการ
หน่วยบริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพฯ จำนวน 68 แห่ง โรงพยาบาลภาครัฐ ในสังกัดกรุงเทพมหานคร/ สำนักการแพทย์ / กระทรวงสาธารณสุข / มหาวิทยาลัย / กระทรวงอื่นๆ เช่น โรงพยาบาลกลาง สังกัดกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลราชวิถี สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลศิริราช สังกัดมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลพระมงกุฎฯ สังกัดกระทรวงกลาโหม
บริษัทที่รับผิดชอบการเผาทำลาย บริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด เป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากกรุงเทพมหานครให้ดำเนินการเก็บขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อจากสถานบริการการสาธารณสุขทั้งภาครัฐ และเอกชนในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
การเก็บรวบรวม trivalent OPV หน่วยบริการ ในเขตกรุงเทพฯ เภสัชกรหรือเจ้าหน้าที่คลังวัคซีนของศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาครัฐในเขตกรุงเทพฯ
ขั้นตอนการเก็บรวบรวม trivalent OPV หน่วยบริการ ในเขตกรุงเทพฯ เก็บรวบรวมขวดวัคซีน วัคซีนที่ยังไม่ได้เปิดใช้ทั้งหมดในคลังวัคซีน วัคซีนที่เปิดใช้แล้ว (รวม dropper) ของหน่วยบริการ ตรวจนับจำนวนขวดวัคซีน แยกขวดวัคซีนที่ยังไม่เปิดใช้และเปิดใช้แล้วใส่ถุงซิปใสพร้อมทั้งนับจำนวนขวดวัคซีนแล้วบรรจุใส่ถุงขยะติดเชื้อ สีแดง กรอกข้อมูลลงใน sticker แล้วติด sticker ที่ถุงขยะ ติดเชื้อสีแดง
ขั้นตอนการเก็บรวบรวม trivalent OPV หน่วยบริการ ในเขตกรุงเทพฯ
การเก็บรวบรวมวัคซีนของหน่วยบริการ ในกรุงเทพมหานคร รวบรวม ขวดวัคซีนที่ ยังไม่เปิดใช้ เปิดใช้แล้ว
แบบเก็บรวบรวม trivalent OPV ของหน่วยบริการในกรุงเทพ กทม.1
ขั้นตอนการเก็บรวบรวม trivalent OPV คลังวัคซีน สำนักอนามัย กรุงเทพฯ เก็บรวบรวมขวดวัคซีน วัคซีนที่ยังไม่ได้เปิดใช้ทั้งหมดในคลังวัคซีน ตรวจนับจำนวนขวดวัคซีน นำขวดวัคซีนที่ยังไม่เปิดใช้ ใส่ถุงซิปใสพร้อมทั้งนับจำนวนขวดวัคซีนแล้วบรรจุใส่ถุงขยะติดเชื้อสีแดง กรอกข้อมูลลงใน sticker แล้วติด sticker ที่ถุงขยะ ติดเชื้อสีแดง
ขั้นตอนการเก็บรวบรวม trivalent OPV คลังวัคซีน สำนักอนามัย กรุงเทพฯ
การเก็บรวบรวมวัคซีนของคลังวัคซีน สำนักอนามัย กรุงเทพฯ ขวดวัคซีนที่ยัง ไม่ได้เปิดใช้ รวบรวม
การรับวัคซีนจากหน่วยบริการและคลังวัคซีนสำนักอนามัย ของบริษัทกรุงเทพธนาคม หน่วยบริการ และคลังวัคซีน นัดหมายบริษัทมารับ trivalent OPV ในวันที่กำหนด หน่วยบริการ และคลังวัคซีน สำนักอนามัยรวบรวม trivalent OPV เพื่อรอให้บริษัทรับไปทำลาย บริษัทมารับวัคซีนไปทำลาย
การรับวัคซีนของบริษัทกรุงเทพธนาคม รถบริษัทกรุงเทพธนาคม คลังวัคซีน สำนักอนามัย ศูนย์บริการสาธารณสุข รพ.ภาครัฐ รับไปทำลาย ภายในวันที่ 26 เม.ย. 59 ส่งเอกสาร คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ที่สำนักสิ่งแวดล้อม กทม แบบ กทม.1
การทำลายวัคซีนสำหรับกรุงเทพมหานคร ตรวจสอบ trivalent OPV ของหน่วยบริการและคลังวัคซีน สำนักอนามัย กับเอกสารที่จัดส่งมาที่สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ ในวันที่ได้ทำการนัดหมาย ภายในวันที่ 28 เมษายน 2559 กรอกข้อมูลการทำลายวัคซีนพร้อมลงนามในแบบการทำลาย trivalent OPV เพื่อรับรองการเผาเสร็จสิ้นสมบูรณ์ คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ร่วมสังเกตการณ์การทำลายโดยบริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด ณ เตาเผาขยะติดเชื้อของกรุงเทพมหานคร ให้เจ้าหน้าที่ทำการเผาของบริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด ลงนาม เพื่อยืนยันการเผาทำลายในแบบฟอร์มดังกล่าว
การทำลายวัคซีนของกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV คลังวัคซีน สำนักอนามัย ศูนย์บริการสาธารณสุข รพ.ภาครัฐ รถบริษัทกรุงเทพธนาคม เตาเผาขยะ กทม. เผาทำลายภายใน วันที่ 28 เมษายน 59
แบบการทำลาย trivalent OPV ของกรุงเทพมหานคร กทม.2
แบบการทำลาย trivalent OPV ของกรุงเทพมหานคร แบบ กทม.2 คณะกรรมการฯลงนามรับรอง
ระยะหลังดำเนินการ บทบาทหน้าที่ ขั้นตอนการดำเนินงาน คณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลาย trivalent OPV ขั้นตอนการดำเนินงาน สรุปผลการทำลาย trivalent OPV และส่งต่อไปยังสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 13 ภายในวันที่ 6 พฤษภาคม 2559 รวบรวมหลักฐานและเอกสารที่เกี่ยวข้องไว้ที่หน่วยงาน
ตัวอย่าง รายงานสรุปผลการทำลายวัคซีน
ระยะหลังดำเนินการ กรณีตรวจพบว่ามี trivalent OPV หลงเหลืออยู่ ประสานให้ผู้รับผิดชอบการเก็บกลับทำลาย และให้เผาทำลาย ภายในวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 ดำเนินการตามแนวทางการเก็บกลับและทำลาย ของคณะกรรมการขับเคลื่อนการเก็บกลับและทำลายของ กทม. โดยเน้นการตรวจสอบรับรองของกรรมการและเอกสารรายงานการดำเนินการ