การเคลื่อนไหวของสัตว์ที่อาศัยแอนตาโกนิซึม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. วิดีโอ เท้าเทียม (Pseudopodium)
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
โครเมี่ยม (Cr).
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
Gas Turbine Power Plant
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
น้ำและมหาสมุทร.
ครูปฏิการ นาครอด.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
นายสุรชัย ดอกแก้ว โรงเรียนสตรีสิริเกศ จังหวัดศรีสะเกษ สพม. 28
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ระบบย่อยอาหาร.
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
Structure of Flowering Plant
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนไหวของสัตว์ที่อาศัยแอนตาโกนิซึม 1.1 พลานาเรีย (Planaria) เป็นสัตว์พวกแรกสุดที่อาศัยแอนตาโกนิซึม การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย พลานาเรียเคลื่อนที่ไปมาโดยอาศัยการทำงานของกล้ามเนื้อลำตัว ซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อวง, กล้ามเนื้อตามยาว และกล้ามเนื้อบน-ล่าง การทำงานของกล้ามเนื้อทั้ง 3 ชุดนี้ ทำให้ตัวแบนพลิ้วไปในน้ำ ขณะที่พลานาเรียเคลื่อนที่บนผิวน้ำ จะใช้ซิเลียซึ่งอยู่ทางด้านล่างของลำตัวโบกไปทางด้านหลัง พร้อมกันนั้นต่อมก็ผลิตเมือกออกมา

ภาพพลานาเรียภาคตัดขวาง แสดงกล้ามเนื้อและซีเลีย ดังนั้นซิเลียจึงพัดอยู่บนเมือกเมื่อมันเคลื่อนที่ผ่านไปแล้วจะมีรอยเมือกอยู่ ขณะเคลื่อนที่พลานาเรียจะตรวจสอบสิ่งแวดล้อมโดยหันบริเวณหัวไปมา ภาพพลานาเรียภาคตัดขวาง แสดงกล้ามเนื้อและซีเลีย คืบคลานจะใช้กล้ามเนื้อวง (circular muscle) และกล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) พลานาเรีย วง ตามยาว บน-ล่าง กล้ามเนื้อ ว่ายน้ำจะใช้ ซิเลียที่อยู่ด้านท้อง

1.2 ไส้เดือนดิน (Earthworm) การเคลื่อนที่ของไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงกระดูก อาศัยการทำงานสัมพันธ์กันของกล้ามเนื้อ 2 ชุด แบบแอนตาโกนิซึม คือกล้ามเนื้อวง (circular muscle) และกล้ามเนื้อตามยาวของลำตัว (longitudinal muscle) ทำให้ไส้เดือนดินเคลื่อนที่ได้ ทั้งนี้แต่ละปล้องของไส้เดือนดินยังมีเดือย (Setae) เป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกจากผนังลำตัวรอบปล้องช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้

ขณะเมื่อไส้เดือนดินต้องการจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า จะใช้เดือยบริเวณส่วนท้ายของลำตัวจิกดินไว้กับที่ จากนั้นกล้ามเนื้อวงจะหดตัวและกล้ามเนื้อตามยาวคลายตัว เป็นผลให้ลำตัวยืดยาวออก จากนั้นใช้เดือยของบริเวณส่วนหัว และส่วนหน้าสุดของปล้องแรก ยึดส่วนหน้าของตัวเอาไว้กับดิน เมื่อกล้ามเนื้อวงคลายตัวและกล้ามเนื้อตามยาวหดตัว จะสามารถดึงให้ส่วนท้ายของลำตัวเคลื่อนตามมาข้างหน้าได้ การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อทั้งสองชุดจะต่อเนื่องกันเป็นลำดับไป โดยเริ่มจากบริเวณด้านหน้าสุดมาสู่ปลายท้ายสุดของลำตัว ดังรูป

ภาพแสดงกล้ามเนื้อตามยาว กล้ามเนื้อตามขวางและ เดือย(ขน)ของไส้เดือนดิน ตัดตามขวาง setae (เดือยหรือขน) ใช้ปากอยู่ปล้องแรกสุดจิกยึดพื้น ไส้เดือนดิน ใช้เดือยหรือขน (setae) อยู่ท้องใช้ยึด ใช้กล้ามเนื้อวง และกล้ามเนื้อตามยาว กล้ามเนื้อตามยาวหดตัว การหดตัว ลำตัวสั้น-อ้วน กล้ามเนื้อวงคลายตัว โดย กล้ามเนื้อวงหดตัว การยืดตัว ลำตัวยาว-เรียว กล้ามเนื้อตามยาวคลายตัว

2.1.1 ปลา ปลาขณะว่ายน้ำ 2. สัตว์ที่มีโครงร่างแข็ง (hard skeleton) 2.1 สัตว์ที่มีโครงร่างแข็งภายใน (endoskeleton) 2.1.1 ปลา กล้ามเนื้อ 2 ข้างลำตัว ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อตามยาว โดยกล้ามเนื้อแต่ละข้างจะหดตัวและคลายตัวสลับกันทำให้ลำตัวคล้ายอักษรรูปตัวเอส (s-shape) ครีบเดี่ยว เช่น ครีบหาง ช่วยว่ายน้ำไปข้างหน้า ปลาขณะว่ายน้ำ จะใช้ ครีบ ครีบคู่ ได้แก่ ครีบอก (pectoral fin) และ ครีบสะโพก (pelvic fin) ช่วยว่ายน้ำ ขึ้น-ลง ในแนวดิ่งและทรงตัว กระเพาะลม (Air bladder) เฉพาะในปลากระดูกแข็งช่วยทรงตัวโดยถ้านำกระเพาะลมมาประกอบอาหารจะเรียก กระเพาะปลา

ภาพแสดงอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนไวของปลา การเคลื่อนที่ของปลา  การเคลื่อนที่ของปลา ปลาเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง ซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำ การเคลื่อนที่ในน้ำต่างจากการเคลื่อนที่บนบกมาก เพราะเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง โครงสร้างในการเคลื่อนไหวจึงมีครีบอกตามลำดับครีบคู่เหล่านี้ช่วยในการพยุงตัวปลา และเคลื่อนที่ขึ้นลงในแนวดิ่ง นอกจากนั้นปลายังมีครีบเดี่ยว เช่น ครีบหลัง, ครีบหาง จะช่วยพัดโบกให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ภาพแสดงอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนไวของปลา

ลำตัวของปลา มีกล้ามเนื้อตามยาวยึดติดอยู่สองข้างของกระดูกสันหลัง (ดังรูป) การหดตัวของกล้ามเนื้อลำตัวนี้ ข้างใดข้างหนึ่งทั้งชุดเริ่มจากหัวไปหางจะทำให้ลำตัวปลามีลักษณะเป็นเส้นโค้งงอคล้ายรูปตัวเอสสลับไปมาซึ่งทำให้ปลาสามารถว่ายเคลื่อนที่ไปได้อย่างรวดเร็ว ปลากกระดูกแข็งจะมีถุงลม (air bladder) ช่วยในการทรงตัวซึ่งโครงสร้างนี้เรานำมาประกอบอาหาร เรียกว่า กระเพาะปลา

ภาพแสดงการเคลื่อนไหวของปลา ก. แผนภาพแสดงลักษณะของลำตัวขณะที่เคลื่อนที่ ข. การทำงานของกล้ามเนื้อขณะเคลื่อนไหว

การว่ายน้ำของปลากระดูกอ่อนคล้ายรูปตัวเอส

 วาฬ โลมา ใช้การสะบัดหางขึ้นและลงสลับกัน ช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า  วาฬ โลมา ใช้การสะบัดหางขึ้นและลงสลับกัน ช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2.1.2 สัตว์น้ำอื่นๆ  ตะพาบน้ำ แมวน้ำ สิงโตทะเล มีระยางค์คู่หน้าเปลี่ยนแปลงไปคล้ายใบพาย (Flipper) ช่วยว่ายน้ำ

การเคลื่อนที่ของเป็ดและกบ  การเคลื่อนที่ของเป็ด และกบ เป็ดและกบจะมีแผ่นผนังบางๆ เรียก Web ยึดติดอยู่ระหว่างนิ้วเท้า เพื่อช่วยโบกพัดน้ำให้ลำตัวเคลื่อนไปข้างหน้าได้ ดังรูป ภาพแสดงโครงสร้างช่วยในการว่ายน้ำของสัตว์บางชนิด ก. กระ ข. เป็ด

การบินของนก  นกมีกล้ามเนื้อขาและกล้ามเนื้ออกขยายใหญ่ เพื่อกิจกรรมที่ว่องไว การเคลื่อนที่ของปีกขณะบินเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณอก (pectoral muscle) การหดตัวของกล้ามเนื้ออกชุดที่ 1 (pectoralis major) นี้จะดึงปีกลงล่างและยกตัวนกขึ้นในการบิน ส่วนการหดตัวของกล้ามเนื้ออกชุดที่ 2 (pectoralis minor) จะ ทำให้ปีกถูกยกขึ้น

 การบินโดยการกระพือปีกพบทั่ว ๆ ไป คือ จะกางปีกออกกว้างสุด แล้วกระพือไปข้างหน้าพร้อมๆ กับกระพือลงข้างล่าง (คล้ายกับการว่ายน้ำท่าผีเสื้อ) จากนั้นจะลู่ปีกและยกขึ้นบนพร้อมๆ กับขยับไปทางหาง  นกที่บินได้ดี เช่น นกพิราบ กล้ามเนื้อออกจะมีสีแดงเข้มมาก ทั้งนี้เนื่องจากในเซลล์กล้ามเนื้อมีสารสีชนิดไมโอโกลบิน (myoglobin) ทำหน้าที่ลำเลียง O2 ให้กล้ามเนื้อ  โครงกระดูกของนกนับว่าบอบบางมากเมื่อเทียบกับสัตว์อื่นๆ มีกระดูกหลายชนิดมีช่องอากาศอยู่ภายในจึงทำให้กระดูกของนกมีน้ำหนักเบามากภายในช่องว่างของลำตัวและช่องว่างในกระดูกชิ้นใหญ่ๆ ของนกจะมีถุงลมแทรกอยู่ ถุงลมเปล่านี้ติดต่อกับปอด

 ในขณะหายใจเข้าอากาศจากภายนอกผ่านไปตามท่อลมในปอด ผ่านปอดสู่ถุงลมโดยตรง และในขณะหายใจออก อากาศจะผ่านปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สภายในเนื้อเยื่อปอดอีกครั้งหนึ่ง ถุงลมจึงทำให้ปอดของนำได้รับแลกเปลี่ยนแก๊สอย่างมีประสิทธิภาพพอเพียงกับกิจกรรมการบินซึ่งต้องใช้พลังงานสูงมาก

1. กล้ามเนื้ออก (Pectoral muscle) นก เป็นสัตว์ที่เคลื่อนที่แบบ 3 มิติ เหมือนปลา กล่าวคือ มีการเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งด้วย นอกเหนือจากการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือถอยหลัง (1 มิติ) และเลี้ยวซ้าย-ขวา (2 มิติ 1. กล้ามเนื้ออก (Pectoral muscle) กล้ามเนื้อกดปีก (Pectoral major) กล้ามเนื้อยกปีก (Pectoral minors) ภายในกล้ามเนื้อมีไมโอโกลบิน (myoglobin) ลำเลียง O2 ปริมาณมาก ทำให้กล้ามเนื้อ มีสีแดงเข้ม

การปรับตัวในการบินของนก 2. ถุงลม (air sac) ซึ่งเป็นโครงสร้างเจริญออกไปจากปอด ช่วยเก็บสำรอง O2 ให้ปอดใช้แต่ไม่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยตรง ช่วยให้ปอดฟอดเลือดได้ 2 ครั้ง ในการหายใจเข้า-ออก 1ครั้ง และช่วยให้ตัวเบา รวมทั้งช่วยระบายความร้อน เพราะนกไม่มีต่อมเหงื่อ 3. ขน (feather) ช่วยอุ้มอากาศและเป็นฉนวนหรือเป็นกลางต่อ แรงดึงดูดโลก (neutralize to gravity) ช่วยให้ตัวเบา การปรับตัวในการบินของนก

ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของนก (pectoralis minor หรือ levator) (pectoralis major หรือ (depressor) ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของนก ก. แสดงกล้ามเนื้อและกระดูกที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของปีกนก ข. ขณะกำลังบินไปข้างหน้า

2.2 สัตว์มีโครงร่างแข็งภายนอก (Exoskeleton) เฟลกเซอร์ การกระโดด ใช้กล้ามเนื้อ เอกซ์เทนเซอร์ เหยียดขา ขณะกระโดดออกไป แมลง ปีก มีขนาดใหญ่ แบนบาง กล้ามเนื้อยกปีก (leavator) การบิน ใช้ กล้ามเนื้อ 2 ชุด กล้ามเนื้อกดปีก (depressor) ถุงลม (air sac) ในแมลงที่บินได้ดี

การเคลื่อนที่ของพวกแมลง สัตว์พวกนี้มีโครงร่างแข็งแรงหุ้มภายนอกแบบเอกโซสเคลเลตัน (exoskeleton) แมลงทั่วๆ ไปมีขนาดเล็ก มีน้ำหนักเบา มีปีกขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดร่างกาย ในขณะบิน ปีกของแมลงจะขยับลงได้โดยการทำงานของกล้ามเนื้อ 2 ชุด แบบแอนตาโกนิซึม โดยเมื่อกล้ามเนื้อยกปีกหดตัว กล้ามเนื้อกดปีกจะคลายตัว และทำให้ปีกขยับสูงขึ้น เมื่อกล้ามเนื้อกดปีกหดตัวกล้ามเนื้อยกปีกจะคลายตัวทำให้ปีกกดลง ดังรูป

ภาพแสดงการทำงานของกล้ามเนื้อยึดโคนปีกของแมลงตัดตามขวาง แมลงบางชนิด ขยับปีกขึ้นลงโดยกล้ามเนื้อ 2 ชุด ทำงานแบบแอนตาโกนิซึมเช่นกัน แต่กล้ามเนื้อ 2 ชุดนี้ ยึดติดระหว่างส่วนท้องกลับส่วนหลัง (Dorsoventral muscle) ซึ่งจากการทำงานของกล้ามเนื้อ 2 ชุดนี้ทำให้ปีกขยับขึ้นลงได้ ดังรูป ภาพภาคตัดขวางแสดงการทำงานของกล้ามเนื้อท้อง-หลังของแมลงให้ปีก ขยับขึ้นลงได้ ภาพแสดงการทำงานของกล้ามเนื้อยึดโคนปีกของแมลงตัดตามขวาง (ก) ขณะปีกกดลง (ข) ขณะปีกยกขึ้น

ภาพแสดงการทำงานของกล้ามเนื้อของแมลง ขณะยกปีกและขณะกดปีกลง ก. ข. ขณะยกปีกขึ้น ค. ง. ขณะกดปีกลง

ภาพการทำงานของกล้ามเนื้อ Flexor และ ขาของแมลง มีลักษณะเป็นข้อต่อ (Jointed leg) ภายในโครงแข็ง จะมีมัดกล้ามเนื้อเกาะอยู่ภายใน การทำงานของกล้ามเนื้อภายในโครงแข็งนี้จะทำให้แมลงเหยียดขา งอขาได้ ตั๊กแตนบางชนิดสามารถกระโดดไกลมาก ขณะที่ตั๊กแตนจะกระโดดออกไป กล้ามเนื้อ extensor จะหดตัว flexor จะคลายตัว ทำให้ขาเหยียดตรงออกไป ภาพการทำงานของกล้ามเนื้อ Flexor และ Extensor ของแมลงทำให้ขาแมลงงอได้เหยียดได้

โครงสร้างของข้อต่อบริเวณขาของแมลง

 การที่ปีกของแมลงขยับขึ้นลงอย่างเดียวยังเพียงพอในการบินจะต้องขยับปีกไปข้างหน้าและข้างหลังพร้อมกับการกระพือ ตั๊กแตนจะกระพือและขยับปีกครบ 1 รอบ เป็นรูปวงรี  ผึ้ง และแมลงวันจะขยับปีกเป็นรูปเลข 8 ความถี่ในการกระพือปีกแตกต่างกันไป เช่น ผีเสื้อและตั๊กแตน 4-20 ครั้ง/วินาที ผึ้งและแมลงวัน 190 ครั้ง/วินาที ตัวริ้น 1000 ครั้ง/วินาที กล้ามเนื้อสำหรับบินจะมีไมโทคอนเดรียขนาดใหญ่อยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งทำให้เซลล์เหล่านี้มีอัตราการหายใจสูงมาก นอกจากนั้นในแมลงที่บินได้จะมีถุงลม (air sac) ทำหน้าที่เก็บสำรองอากาศและควบคุมการผ่านเข้าออกของอากาศด้วย

การเคลื่อนไหวของสัตว์ที่อาศัยแอนทาโกนิซึม 1. สัตว์ที่มีโครงร่างเป็นของเหลว (Hydrostatic skeleton) ของเหลวดังกล่าวอาจไหลจำกัดอยู่ในร่างกายหรือไหลพุ่งออกมาช่วยผลักดันให้เคลื่อนที่ข้างหน้า ดังนั้น การเคลื่อนที่ของสัตว์เหล่านี้จึงอาศัยแรงดันน้ำ (Hydrostatic pressure) ตามหลัก Action = Reaction แมงกะพุรน โดยพ่นน้ำออกทางปากที่อยู่ข้างล่าง หมึก พ่นน้ำโดยใช้ไซฟอน (siphon) 1 อัน ได้แก่ หอย 2 ฝา พ่นน้ำโดยใช้ไซฟอน 2 อัน คือ ไซฟอนน้ำเข้า (incurrent siphon) และไซฟอนน้ำออก (excurrentsiphon)

2. สัตว์ที่อาศัยกล้ามเนื้อ สัตว์ที่อาศัยกล้ามเนื้อ ได้แก่ หนอนตัวกลม เช่น พยาธิไส้เดือน มีเฉพาะกล้ามเนื้อตามยาว จึงได้แค่บิดตัวไปมา หอยกาบเดี่ยว เช่น หอยทาก ใช้กล้ามเนื้อเท้า (Muscular foot) ในการเคลื่อนที่

3. สัตว์ที่อาศัยระบบท่อน้ำ (Water vascular system) ดาวทะเล อาศัยระบบท่อน้ำ ประกอบด้วย 3.1 ตะแรงกรองน้ำเรียกว่า มาดรีโปไรต์ (Madreporite) 3.2 วงท่อน้ำ (Ring canal) 3.3 ท่อน้ำตามแฉกของแขนดาวทะเล (Radial canal) 3.4 กระเปาะแอมพลูลา (Ampulla) 3.5 ทิวบ์ฟิต (Tube feet) เป็นอวัยวะไฮโดรสแตติกส์ (Hydrostatic organ) โดยอาศัยแรงดันน้ำในการทำงาน (Hydrostatic force)

ภาพแสดงการติดต่อของทิวบ์ฟิตกับระบบน้ำภายในร่างกายดาวทะเล  การยึดและหดตัวของทิวบ์ฟิตหลายๆ อันต่อเนื่องกันทำให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้ ภาพแสดงการติดต่อของทิวบ์ฟิตกับระบบน้ำภายในร่างกายดาวทะเล มองจากด้านบน