ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Appointment via Call Submit Personal Information/simulation model via website Check in/ Appointment Code Confirm Waiting in prepared customer Area Doctor.
Advertisements

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
นางสาวจันสิมา ดีสมบูรณ์ ชื่อเล่น น้องเก๋ ตำแหน่ง ครู วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีชัยนาท Phone : Facebook :
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุมชี้แจงเรื่อง การจ่ายเงินผ่านระบบ KTB corporate online
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
Police ilertu Phase 1 ระบบแจ้งขอความช่วยเหลือผ่าน Police ilertu ประชาชน / ชาวต่างชาติ / นักท่องเที่ยว ตำรวจสายตรวจ บนพื้นที่ เจ้าหน้าที่วิทยุ ที่
ประเภทของธุรกิจขายตรง (ครั้งที่ 2) อาจารย์วิไลลักษณ์ มีประชา
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
ขอบเขตของ Solas / VGM และ วิธีการแจ้ง VGM ใน Website ของ HMM
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
ต้นทุนต่อหน่วยรายหลักสูตร
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ข้อบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศกรมการจัดหางาน
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แบบเอกสารกำกับการขนสิ่งปฏิกูล พ.ศ. 2561
เรื่อง ประเภท ขนาดของกิจการ ท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2 ตุลาคม 2561
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง
Generation Z : The new millennial
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง ข้อกำหนดด้านความปลอดภัยของภาชนะบรรจุ
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ความหมาย ความสำคัญของการให้การศึกษา และแนะแนวผู้ปกครอง
พลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
กฎกระทรวง สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ พ.ศ. 2560
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2561
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภาวะการณ์ผลิต/การตลาด
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 พฤษภาคม 2562
จุดประสงค์รายวิชา.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม 2562
สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ พ.ศ. 2562
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ประกาศสำนักงานประกันสังคม
ประกาศกรมการจัดหางาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 27 เมษายน 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรากูร วันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมฯ เคลื่อนที่เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร วันที่ 15 - 19 สิงหาคม 2559

โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ด้วยมูลนิธิกาญจนบารมี และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รู้สึกสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็น ล้นพ้น จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเครื่อง เอ็กซเรย์เต้านม ( Mammogram ) ในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อย โอกาสเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ เป็น ระยะที่ 4 ดำเนินการในระดับอำเภอๆ ละ 1 วัน จังหวัด เชียงใหม่ ในระหว่างวันที่ 23 - 25, 28 - 29 สิงหาคม 2560

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย เป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ ในปีพุทธศักราช 2555 2. เพื่อกระตุ้นเตือน ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของ โรคมะเร็ง สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ให้กับประชาชน ทั่วไป และเอ็กซเรย์เต้านมให้กับสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส ในอำเภอแต่ละโซน

วัตถุประสงค์ 3. เพื่อรณรงค์รับเงินบริจาคเงินให้กับโครงการฯ มี 4 รูปแบบ 3.1. การบริจาคเงินฯ 3.2. การเช่าบูชาวัตถุมงคลหลวงพ่อโสธร รุ่น “เสาร์ 5 เบญจนวมงคล” 3.3. การสั่งจองซื้อเสื้อยืดโปโลมูลนิธิกาญจนบารมี 3.4. การซื้อ wrist band มูลนิธิกาญจนบารมี 4. เพื่อจัดซื้อรถเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ ( Mammogram )

รายละเอียดขบวนรถยนต์ หน่วยตรวจคัดกรองะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ ประกอบด้วยรถยนต์ จำนวน ๔ คัน ได้แก่ ๑. รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ (Mobile Advertising Unit) เป็นรถตู้ติดเครื่องกระจายเสียง สำหรับเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์การให้บริการของหน่วยคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ ประกอบด้วยเครื่องเสียงและลำโพง เพื่อใช้ในการกระจายเสียงประชาสัมพันธ์ไปยังท้องถิ่นที่รถคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่จะไปให้บริการการตรวจแก่ประชาชน

รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) รายละเอียด รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) ๒. รถสาธิตและตรวจมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ (Mobile Check Up Unit) เป็นรถที่ให้บริการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ขนาด กว้าง ๒.๕ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สูง ๓.๕ เมตร ด้านข้างมีบันไดยื่นจากตัวรถประมาณ ๑ เมตร ใช้กระแสไฟฟ้า แบบ single phase แรงดันไฟฟ้า ๒๒๐ โวลท์ ความถี่ ๕๐ เฮิร์ตซ์ ขนาด ๓๐ แอมป์ รถ แบ่งออกเป็น ๒ โซน ได้แก่ ๒.๑ โซนที่นั่งสำหรับคนไข้เพื่อรอปรึกษาเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ๒.๒ โซนห้องตรวจ

รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) รายละเอียด รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) ๓.รถนิทรรศการและให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ (Mobile Learning Exhibition Unit) เป็นรถให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ขนาด กว้าง ๒.๕ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สูง ๓.๕ เมตร ด้านข้างรถเปิดเป็นเวทีขนาดกว้าง ๑๕ เมตร ใช้กระแสไฟฟ้า แบบ single phase แรงดันไฟฟ้า ๒๒๐ โวลท์ ความถี่ ๕๐ เฮิร์ตซ์ ขนาด ๓๐ แอมป์ รถแบ่งออกเป็น ๒ โซน ประกอบด้วย ๓.๑ โซนแรก เป็นตู้นิทรรศการแสดงหุ่นจำลองเต้านมที่ผิดปรกติ ๓.๒ โซนที่ ๒ เป็นห้องฉายวิดิทัศน์จากจอดิวิทัศน์ ให้ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม รวมทั้งการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) รายละเอียด รถหน่วยตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ฯ (ต่อ) ๔.รถตรวจเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่แบบประสิทธิภาพสูง*** ขนาด กว้าง ๒.๕ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สูง ๓.๙ เมตร ใช้กระแสไฟฟ้า แบบ single phase แรงดันไฟฟ้า ๒๒๐ โวลท์ ความถี่ ๕๐ เฮิร์ตซ์ ขนาด ๘๐ แอมป์ รถคันนี้จะแบ่งออกเป็น ๔ โซน ได้แก่ ๔.๑ โซนรับผู้ป่วย ๔.๒ โซนห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า ๔.๓ โซนห้องเอกซเรย์เต้านม ๔.๔ โซนห้องวินิจฉัยและตรวจอัลตร้าซาวด์

ตัวอย่าง รถมูลนิธิกาญจนบารมี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรากูร ปี 2560 ระหว่าง วันที่ 23, 24, 25, 28 และ 29 สิงหาคม 2560 ณ อำเภอแม่อาย พร้าว แม่ริม หางดง และดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่

พื้นที่ดำเนินการ แบ่งเป็น 5 โซน กลุ่มเป้าหมาย สตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-70 ปี พื้นที่ดำเนินการ แบ่งเป็น 5 โซน วัน/เดือน/ปี สถานที่ 23 สิงหาคม 2560 อ.ไชยปราการ ฝาง แม่อาย (ณ ........................................................อ.แม่อาย ) 24 สิงหาคม 2560 อ.แม่แตง เชียงดาว พร้าว เวียงแหง (ณ .........................................................อ.พร้าว)

พื้นที่ดำเนินการ วัน/เดือน/ปี สถานที่ 25 สิงหาคม 2560 25 สิงหาคม 2560 อ.ดอยสะเก็ด สันทราย สะเมิง กัลยาฯ แม่ริม แม่ออน ( ณ ..........................................................อ.แม่ริม) 28 สิงหาคม 2560 อ.สารภี หางดง สันป่าตอง แม่วาง เมือง สันกำแพง ( ณ .......................................................อ.หางดง ) 29 สิงหาคม 2560 อ.จอมทอง แม่แจ่ม อมก๋อย ดอยเต่า ฮอด ดอยหล่อ ( ณ .....................................................อ.ดอยเต่า )

๑. การจัดกิจกรรมให้บริการ 1. ตรวจร่างกายเบื้องต้น ซักประวัติคัดกรองฯ มะเร็งเต้านม/ มะเร็งปากมดลูก 2. ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและสอนการตรวจมะเร็งเต้านม ด้วยตนเอง

๑. การจัดกิจกรรมให้บริการ 3. การตรวจมะเร็งเต้านมสตรีกลุ่มเป้าหมาย โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 4. กรณีสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม โดยเครื่องเอ็กซเรย์ Mammogram พร้อมทั้งได้รับการวินิจฉัย และรักษาตามขั้นตอนที่กำหนด

ขั้นตอนการคัดกรองสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 70 ปี ขั้นตอนการคัดกรองสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 70 ปี 1. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ในทุกอำเภอ ทุกตำบล ทุกหมู่บ้าน 2. คัดกรองความเสี่ยง ด้วย แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิด โรคมะเร็งเต้านม พบก้อน/ความผิดปกติ Refer ส่ง รพ.สต. 3. จนท.รพ.สต. ตรวจมะเร็งเต้านมสตรีกลุ่มเสี่ยง(จากข้อ 2.) และ ติดตามคนที่ตรวจปีที่แล้วพบก้อนและความผิดปกติ มาตรวจครั้งนี้ พบก้อน/ ความผิดปกติ Refer ส่ง รพ.ระดับอำเภอ 4. จนท. ระดับอำเภอ ตรวจมะเร็งเต้านมสตรีกลุ่มเสี่ยง (จากข้อ 3.) พบก้อน/ความผิดปกติ ส่งเข้ามาตรวจฯ ในวันจัดกิจกรรมระดับโซน

๑.๒.การจัดกิจกรรมบริการ บนรถหน่วย 3 คัน 1.รถสาธิตและตรวจมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ (Mobile Check Up Unit) ซึ่งมีห้องตรวจพร้อมเตียง 2 ห้อง - ศัลยแพทย์ หรือแพทย์ที่ช่วย confirm เรื่องก้อนที่เต้านมและ สั่งการรักษา และส่งต่อ และพยาบาล /เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประจำในรถ 2-3 ท่าน เพื่อช่วยแพทย์ในห้องตรวจ 2 ห้อง

๑.๒.การจัดกิจกรรมบริการ บนรถหน่วย 3 คัน 2. รถนิทรรศการและให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ (Mobile Learning Exhibition Unit) - นักวิชาการหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากศูนย์อนามัยที่ 1

๑.๒.การจัดกิจกรรมบริการ บนรถหน่วย 3 คัน 3. รถตรวจเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่แบบประสิทธิภาพสูง มีนักรังสีการแพทย์ของมูลนิธิประจำ 1 ท่าน พยาบาล 1-2 คน ช่วยแพทย์ในการทำ ultrasound

ขอความอนุเคราะห์จากอำเภอ ๑. การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย การคัดกรองสตรีกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เคยเป็นมะเร็งเต้านม ญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม มียีนต์พันธุกรรมเต้านมผิดปกติไว้ล่วงหน้า ประมาณ ๑๐–๑๕ คน และคัดกรองในวันดังกล่าว อีก ๑๐ –๑๕ คน รวมเป็นจำนวน ๒๐–๓๐ คน เพื่อเอ็กซเรย์ด้วยเครื่อง Mammogram ในวันนั้น

ขอความอนุเคราะห์จากอำเภอ ๒. การจัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมบุคลากร 1. รังสีแพทย์ ๑ คน เพื่ออ่าน Mammogram 2. ศัลยแพทย์, แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (ซึ่งสามารถตรวจเต้านมได้) จำนวน 1- ๒ คน กิจกรรมที่ อ.แม่อาย : ขอรังสีแพทย์, ศัลย์ฯ , สูติแพทย์ รพ.ฝาง กิจกรรมที่ อ.พร้าว : ขอรังสีแพทย์, ศัลย์ฯ , สูติแพทย์ รพ.สันทราย กิจกรรมที่ อ. ดอยเต่า : ขอรังสีแพทย์, ศัลย์ฯ , สูติแพทย์ รพ.จอมทอง กิจกรรมที่ อ. แม่ริม หางดง : ขอรังสีแพทย์, ศัลย์ฯ , สูติแพทย์ รพ.นครพิงค์ สันป่าตอง   13.1.3 ศึกษาธิการ................บาท 13.1.4 ยุติธรรม................บาท 13.1.5 เกษตร ................บาท 13.1.6 พัฒนาชุมชน................บาท 13.1.7 ประชาสัมพันธ์................บาท 13.1.8 แรงงาน................บาท 13.2 อปท. ...................บาท 13.3 อสม. ...................บาท 13.4 ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรี.จ.ชม...................บาท 13.5 นายกเหล่ากาชาด...................บาท 13.6 ชมรมนายอำเภอ...................บาท 13.7 ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน................ บาท 13.8 คณบดี พ่อค้า และ ประชาชนทั่วไป...................บาท

ขอความอนุเคราะห์จากอำเภอ ๒. การจัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมบุคลากร 3. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและพยาบาล และ เจ้าหน้าที่ทั่วไป รวมจำนวน ๓๐ คน ภายในแต่ละโซน 4. ประสานขอความร่วมมือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่ให้ร่วมกิจกรรม   13.1.3 ศึกษาธิการ................บาท 13.1.4 ยุติธรรม................บาท 13.1.5 เกษตร ................บาท 13.1.6 พัฒนาชุมชน................บาท 13.1.7 ประชาสัมพันธ์................บาท 13.1.8 แรงงาน................บาท 13.2 อปท. ...................บาท 13.3 อสม. ...................บาท 13.4 ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรี.จ.ชม...................บาท 13.5 นายกเหล่ากาชาด...................บาท 13.6 ชมรมนายอำเภอ...................บาท 13.7 ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน................ บาท 13.8 คณบดี พ่อค้า และ ประชาชนทั่วไป...................บาท

ขอความอนุเคราะห์จากอำเภอ ๓. การจัดสถานที่ ๑. หาสถานที่ในการดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการฯ ๒. จัดตั้งเวทีกลาง พร้อมอุปกรณ์เครื่องเสียง ๓. จัดหาเต็นท์ + เก้าอี้ สำหรับผู้ร่วมงาน และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๔. จัดตั้งเต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ เตียง สำหรับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม เพื่อรองรับกิจกรรม ๔.๑. การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดัน ๔.๒. การซักประวัติคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม ๔.๓. การสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ๔.๔. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

ขอความอนุเคราะห์จากอำเภอ ๔. การรณรงค์รับบริจาค 1. ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมการคัดกรองมะเร็งเต้านม ทุกอำเภอในแต่ละโซน 2. ขอความร่วมมือทุกภาคส่วน ร่วมบริจาค 2.1. บริจาคเงินสมทบทุนมูลนิธิกาญจนบารมี ....โดยบริจาคก่อนฯ 2.2. การเช่าวัตถุมงคล ฯ ..... โดย สั่งเช่า 2.3. การสั่งจองซื้อเสื้อยืดโปโลมูลนิธิฯ...... โดย การสั่งซื้อ 2.4. การซื้อ wrist band มูลนิธิฯ ...... โดย สั่งจอง ทั้งข้อ 2.1 – 2.4 ยังสามารถบริจาค และซื้อภายในงานได้

ขอให้อำเภอเจ้าภาพจัดกิจกรรมโครงการฯ แผนปฏิบัติการการจัดกิจกรรมโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่โดยเครื่อง Mammogram เฉลิมพระเกียรติฯ จ.เชียงใหม่ ปี ๒๕60 ขอให้อำเภอเจ้าภาพจัดกิจกรรมโครงการฯ จัดทำแผนปฏิบัติการการจัดกิจกรรม/ โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านมฯ เสนอ ขออนุมัติ นพ.สสจ.ชม. ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม 25๖๐ พร้อมทั้งส่ง Flie ข้อมูลฯ ทาง Email : cancer.cmhealth@gmail.com

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 1. รูปแบบการจัดงาน - พิธีเปิด โดย นายอำเภอ 2. ขอความร่วมมือการบริจาคเงินฯ สมทบทุนมูลนิธิกาญจนบารมี สรุปยอดบริจาค แจ้ง สสจ.ชม. ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2560

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 3. ไฟฟ้า จนท.มูลนิธิฯ เดินทางถึงสถานที่จัดงานในตอนเย็น ก่อนวันจัดงาน เพื่อติดตั้งเชื่อมต่อสายไฟที่จะใช้กับรถยนต์แต่ละคัน ดังนั้น ในตอนเย็นก่อนวันจัดงาน เมื่อ จนท.มูลนิธิฯ มาถึง ขอให้ 3.1. ผู้ประสานงาน เรื่องการจัดสถานที่ 3.2. เจ้าหน้าที่การไฟฟ้าของอำเภอ อยู่ช่วยอำนวยความสะดวกในการติดตั้งเชื่อมต่อสายไฟด้วย

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 4. (ร่าง) คำสั่งคณะกรรมการฯ แต่ละโซน ให้จัดทำ ร่างคำสั่งฯ โดยพิมพ์เป็น File Excel ส่งให้งานมะเร็ง กลุ่มงานส่งเสริมฯ สสจ.ชม.ทาง Email : cancer.cmhealth@gmail.com ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2560 5. การประสานสิทธิหลักประกันสุขภาพ กรณี Refer ผู้ป่วย เพื่อรักษาต่อฯ ให้เจ้าหน้าที่ของแต่ละอำเภออยู่อำนวยความสะดวกด้วย

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 6. จัดหาที่พัก ให้ทีม จนท. มูลนิธิฯ 7. จัดหาสถานที่/ห้องอาบน้ำ ให้แก่ พนักงานขับรถของมูลนิธิฯ 8 . จัดหารถยนต์(ตู้) รับ – ส่ง จนท. ทีมจังหวัด ได้แก่ รังสีแพทย์ ศัลยแพทย์ พยาบาล ฯ จำนวน 10 คน - รพ.นครพิงค์ : รังสีแพทย์ ศัลยแพทย์ พยาบาลฯ - ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ที่ 1 : พยาบาล/ นวก.สธ. - สสจ.ชม.

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 9. แบบสรุปการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ส่ง จำนวน 2 ครั้ง คือ วันที่ 25 มิย. และ วันที่ 25 กค. 60 10. สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยเครื่องเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่เฉลิมพระเกียรติฯ ส่ง ภายใน วันที่ 30 สิงหาคม 2560 ทั้งข้อ 2, 9 และ 10 ส่งให้งานมะเร็ง กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.ชม. ตามระยะเวลาที่กำหนด ทาง Email : cancer.cmhealth@gmail.com

ภารกิจที่สำคัญของอำเภอ 11. เตรียมเครื่องถ่ายเอกสาร 1 เครื่อง ไว้ในที่จัดงาน เพื่อถ่าย แบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านมทุกคน และผลการตรวจ Mammogram ของทุกคน เพราะ ทางมูลนิธิฯ จะเอาเอกสารฉบับจริงกลับไปทั้งหมดในวันนั้น

ในการจัดเตรียมงานฯ แต่ละโซน มะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ โดยเครื่องเอ็กซเรย์ การมอบหมายภารกิจ ในการจัดเตรียมงานฯ แต่ละโซน ภารกิจในการจัดเตรียมงาน โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ โดยเครื่องเอ็กซเรย์ ( Mammogram ) เฉลิมพระเกียรติฯ

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการบริจาคให้มูลนิธิฯ แบบร่วมบริจาคเงิน มอบให้มูลนิธิกาญจนบารมีฯ ใบสั่งจองบูชาวัตถุมงคลฯ ราคาวัตถุมงคลฯ ใบสั่งซื้อเสื้อยืดมูลนิธิกาญจนบารมีฯ

การติดตามความก้าวการดำเนินงานฯ สถานที่จัดงาน (ร่าง) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ของแต่ละโซน แผนการดำเนินงานโครงการ การตรวจคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ( ตำบล อำเภอ โซน ) การบริจาคเงินมอบให้มูลนิธิกาญจนบารมี งบประมาณดำเนินการ

ขอขอบคุณทุกท่าน...