(เครื่องมือทางการบริหาร)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
Advertisements

Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
Location Problem.
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
ส่วนที่ 2 ระบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการบูรณาการ (Project Evaluation System)  การประเมินคุณภาพบริการ  การประเมินศักยภาพระบบสนับสนุน การวิเคราะห์ต้นทุน.
การศึกษาการพยากรณ์ ความต้องการและนโยบาย การจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา บริษัท ABC นิศาชล ไทรชมภู
การประเมินผลงาน เพื่อ เลื่อนระดับชำนาญ การ และ การขอรับเงินประจำ ตำแหน่ง.
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
Product Overview & ERP Concept
การวางแผนกำลังการผลิต
Fixed Assets Overview ( 16-Nov-2017) Oracle E-Business Suite
บทที่ 7 ราคา Price.
Flexible Budgeting and
ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction)
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
บทบาทของการบัญชีต้นทุนในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
การคำนวณต้นทุนผลผลิต สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน – ปริมาณ – กำไร
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
การคิดราคาขาย การลดต้นทุน และการวางแผนจัดนำเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
Activity-Based-Cost Management Systems.
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
การบริหารการผลิต.
อุทธรณ์,ฎีกา.
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
การประเมินราคา (Cost estimation).
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(เครื่องมือทางการบริหาร) ต้นทุนผันแปร (เครื่องมือทางการบริหาร)

โดยทั่วไปต้นทุนผันแปรคือ ต้นทุนชนิดที่ผู้บริหารใช้มากที่สุดในการตัดสินใจ เพราะจะเป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นทันที่ที่มีกิจกรรมการดำเนินงานเกิดขึ้น ส่วนต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนที่มีลักษณะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่ากิจกรรมดำเนินงานเปลี่ยนแปลงอย่างไรต้นทุนคงที่ไม่มีผลต่อการตัดสินใจ ดังนั้นผู้บริหารจึงใช้ต้นทุนคงที่เป็นสิ่งสำคัญในการตัดสินใจ

แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ วิธีต้นทุนเต็ม องค์ประกอบต้นทุน วิธีต้นทุนผันแปร  วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดผันแปร ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่  

ชนิดของต้นทุน ชนิดของต้นทุน บาท 1. ต้นทุนผันแปร(Variable cost) คือต้นทุนที่ราคา ต่อหน่วยเท่ากันทุกหน่วย แต่ต้นทุนโดยรวม เพิ่มขึ้นเมื่อเริ่มผลิต (ไม่ผลิตไม่มีต้นทุน) 0 กิจกรรม บาท 5,000 2. ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) คือต้นทุนที่ถึงแม้จะไม่มี การผลิตก็จะมีต้นทุนเกิดขึ้น และถึงแม้มีการผลิต เป็นจำนวนมากต้นทุนก็คงเดิม 0 กิจกรรม บาท 5,000 3. ต้นทุนผสม (Mixed Cost) คือต้นทุนที่มีส่วน ระหว่างต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร นั่นต้นทุน 0 กิจกรรม

การแสดงข้อมูลที่แตกต่างกันระหว่าง Absorption Costing VS Variable Costing

มุ่งเน้นแสดงข้อมูลแยกให้เห็นสัดส่วนระหว่าง วิธีต้นทุนเต็ม (Full or Absorption Costing) มุ่งเน้นแสดงข้อมูลแยกให้เห็นสัดส่วนระหว่าง ต้นทุนขายผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินงานเพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า และ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดำเนินงานของส่วนงานสนับสนุนและส่วนงานบริหารต่างๆ ความสามารถในการทำกำไรในการดำเนินงาน

แยกส่วนระหว่างต้นทุนและค่าใช้จ่าย

ขาย ต้นทุน คชจ. กำไร ขาย ขาย&บริหาร

วิธีต้นทุนผันแปรหรือวิธีกำไรส่วนเกิน ( Variable Costing or Contribution Approach) มุ่งเน้น แสดงผลการดำเนินงานที่ไม่มีปัจจัยต้นทุนงวดเวลาที่ทำให้งบกำไรขาดทุนแสดงข้อมูลผิดจากผลการบริหารงาน 2. แสดงภาวะความรับผิดชอบหลักของผู้บริหารต่อ ภาระค่าใช้จ่ายประจำงวด 3. ความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกิน และกำไรจากการดำเนินงาน

ต้นทุน ผันแปร

ต้นทุน คงที่

ต้นทุนผันแปร

ต้นทุนคงที่

ภาระค่าใช้จ่ายประจำ

ขาย ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ กำไรสุทธิ

กรณีศึกษาแนวคิดต้นทุน บริษัท บ้านสวนองุ่น จำกัด

ค่าใช้จ่ายการผลิตถูกยกไปงวดหน้า ในรูปส่วนหนึ่งของต้นทุนผลิตภัณฑ์

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วย วิธีต้นทุนเต็ม องค์ประกอบต้นทุน วิธีต้นทุนผันแปร  วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดผันแปร ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่  

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม

90,000 ขวดๆ ละ 500 บาท

10,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

100,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

+

20,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

-

-

90,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท

120,000 ขวดๆ ละ 500 บาท

10,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

100,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

+

-0- ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

-

120,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท

100,000 ขวดๆ ละ 500 บาท

10,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

100,000 ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

+

-0- ขวดๆ ละ 112.7905 บาท

-

120,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนผันแปร

100,000 ขวด 500 บาท/ขวด 120,000 ขวด 500 บาท/ขวด 100,000 ขวด 500 บาท/ขวด

10,000ขวดๆ ละ 103.778 บาท

100,000ขวดๆ ละ 103.778 บาท

+

20,000ขวดๆ ละ 103.778 บาท

-

100,000ขวดๆ ละ 0.50 บาท

+

-

ปีแรกกำไรวิธีต้นทุนเต็มสูงกว่าวิธีต้นทุนผันแปร เพราะวิธีต้นทุนเต็มมีสินค้าคงเหลือปลายงวดยกไปงวดหน้า

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม ต้นงวด 10,000 ขวด ผลิตเพิ่ม 100,000 ขวด รวม 110,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ 9.0125 บาท รวมต้นทุนคงที่ 991,375.- บาท

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม สินค้าคงเหลือปลายงวด จำนวน 20,000.-ขวด ขวดละ 9.0125 บาท ต้นทุนคงที่ยกไปงวดหน้า 180,250 บาท ต้นทุนคงที่ทั้งหมด 991,375 บาท สินค้าปลายงวดต้นทุนคงที่ยกไป 180,250 บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ 811,125 บาท

งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 811,125 บาท งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก 901,250 บาท งบต้นทุนเต็มกำไร มากกว่า 90,125 บาท

ปีที่สอง กำไรวิธีต้นทุนเต็มน้อยกว่าวิธีต้นทุนผันแปร เพราะวิธีต้นทุนเต็มมีสินค้าคงเหลือยกมาต้นงวด

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม ต้นงวด 20,000 ขวด ผลิตเพิ่ม 100,000 ขวด รวม 120,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ 9.0125 บาท รวมต้นทุนคงที่ 1,081,500.- บาท

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม ไม่มีสินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนคงที่ทั้งหมด 1,081,500 บาท สินค้าปลายงวดยกไป -0- บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ 1,081,500 บาท

งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 1,081,500 บาท งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก 901,250 บาท งบต้นทุนเต็มกำไร มากกว่า 180,250 บาท

ปีที่สอง กำไรวิธีต้นทุนเต็ม เท่ากับ วิธีต้นทุนผันแปร เพราะไม่มีสินค้าคงเหลือยกไปปลายงวด

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร

การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม ต้นงวด 0 ขวด ผลิตเพิ่ม 100,000 ขวด รวม 100,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ 9.0125 บาท รวมต้นทุนคงที่ 901,250.- บาท

งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม ไม่มีสินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนคงที่ทั้งหมด 901,250 บาท สินค้าปลายงวดยกไป -0- บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ 901,250 บาท

งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 901,250 บาท งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก 901,250 บาท กำไร ต้นทุนเต็ม เท่ากับ ต้นทุนผันแปร -0- บาท

การจัดทำงบกำไรขาดทุนจำแนกตามส่วนงาน ด้วยต้นทุนผันแปร

ต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนวัตถุดิบ

การตั้งราคาขายกับวิธีการต้นทุนผลิตภัณฑ์

สรุปแนวคิดต้นทุนผันแปร 1. ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปรเท่านั้นคือ Product Cost = DM + DL + VC-OH 2. ต้องการให้งบกำไรขาดทุนแสดงผลการดำเนินงานแต่ละงวดโดย ไม่มีปัจจัยต้นทุนงวดเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง(Period Cost) 3. งบกำไรขาดทุนแสดงภาระค่าใช้จ่ายประจำที่ผู้บริหารต้อง รับผิดชอบในแต่ละงวด 4. งบกำไรขาดทุนแสดงความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกินของบริษัท และความสามารถในการสร้างกำไรจากการดำเนินงาน

5. งบกำไรขาดทุนวิธีกำไรส่วนเกินทำให้การจัดทำรายงานจำแนกตามส่วนงาน ทำได้โดยง่าย นอกจากนี้ยังช่วยในการวิเคราะห์ความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกิน และกำไรแต่ละส่วนงานเปรียบเทียบกันโดยง่าย 6. งบกำไรขาดทุนวิธีกำไรส่วนเกินช่วยในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนได้สะดวกและมีความแม่นยำในการวิเคราะห์ 7. งบกำไรขาดทุนให้ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ชนิดต่างๆ สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจได้โดยง่ายกว่าวิธีอื่นๆ

The End