การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนของเรา ชุมชนอบอุ่น MANAGEMENT BY P.PROPERTY MANAGEMENT.CO,LTD
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันทำให้บริษัทต่างๆ ต้อง ให้ความใส่ใจเป็นพิเศษในการลงทุนสำหรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้หันมาสร้างประโยชน์จาก ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเดิมให้มากยิ่งขึ้น.
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Ecological Succession)
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
การอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
เครื่องมือช่างยนต์ (Auto Mechanic hand tools)
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง. โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง บทคัดย่อ เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในทางทันตกรรมบางชนิดมีความแหลมคม เช่น เครื่องขูดหินปูน เครื่องมือตกแต่งวัสดุอุดฟัน.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชไร่ตระกูลถั่ว
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน จากนั้นนำไปชั่ง น้ำหนัก เป็น M1 2 ปรับพื้นผิวทดลองให้เรียบและได้ระดับ วางแผ่นฐาน ให้สนิทกับพื้นแล้วตอกตะปูยึดให้แน่น ใช้แปรงขนปัดฝุ่น ผิวหน้าดินและบนแผ่นฐานออกให้หมด 3 คว่ำขวดทรายให้ปากกรวยตรงกับร่องของแผ่นฐาน เปิดลิ้นให้ทรายไหลลงจนล้นขึ้นมาเต็มกรวย เมื่อทรายหยุด ไหลแล้วจึงปิดลิ้นนำขวดทรายที่เหลือไปชั่งน้ำหนัก เป็น M2 น้ำหนักที่หายไป M1 – M2 เท่ากับน้ำหนักทรายในกรวย M5 เก็บทรายบนแผ่นฐานและพื้นทดลองออก เติมทรายที่ สะอาดลงในขวดให้มีปริมาณเพียงพอกับการใช้งาน ปิดลิ้น ไว้ แล้วนำขวดทรายไปชั่งน้ำหนัก เป็น M3

การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 4 เจาะดินตรงกลางแผ่นฐานเป็นรูปทรงกระบอก เส้น ผ่านศูนย์กลางเท่ารูตรงกลางของแผ่นฐาน โดยขุดเป็น แนวตั้งฉากตลอดชั้นวัสดุที่ทดลอง หรือลึกประมาณ 100- 150 มม. แต่งหลุมให้เรียบเพื่อให้ทรายแทนที่ได้สะดวก 5 นำ ตัวอย่างที่ขุดทั้งหมดใส่ภาชนะแล้วนำ ไปชั่งน้ำหนัก เป็น P1 จากนั้นหักน้ำหนักของภาชนะ P2 ออกได้น้ำหนัก ของมวลดินชื้นในหลุม เป็น P3 6 เก็บตัวอย่างดินใส่กระป๋องเก็บตัวอย่าง เพื่อนำไปหา ปริมาณความชื้นของดินในหลุมทดลอง 7 คว่ำขวดทรายให้ปากกรวยตรงกับร่องของแผ่นฐานเปิดลิ้น ให้ทรายไหลลงจนเต็มหลุม แล้วจึงปิดลิ้น นำขวดทราย ที่เหลือไปชั่งหาน้ำหนัก เป็น M4 น้ำหนักที่หายไป M3– M4 เท่ากับน้ำหนักของทรายที่แทนที่ในหลุมทดลองและในกรวย M6 เมื่อนำมวลของทรายในกรวยไปหักออก M6 –M5 จะได้มวลของทรายในหลุม M7 8 หาปริมาตรของหลุม เป็น V1 โดยเอาความแน่นของทราย ρs ไปหารมวลของทรายในหลุม

การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50. 8 มม การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50.8 มม.และมีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง ขนาด 19.0 มม. น้อยกว่า 10% ของมวลรวม ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 1 ถึง 5 ใช้ตะแกรงขนาด 19.0 มม. แบ่งแยกดินที่เก็บจากหลุม ชั่งหามวลของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง เป็น P4 ส่วน ของมวลดินที่มีเม็ดค้างตะแกรงให้ ใส่กลับคืนลงในหลุม ทดลอง ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 6 ถึง 8 หาปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เป็น V2 โดยเอาความแน่นของทรายไปหารมวลของทรายในหลุม

การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50. 8 มม การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50.8 มม.และมีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง ขนาด 19.0 มม. มากกว่าหรือเท่ากับ 10% ของมวลรวม หรือวัสดุพวก Grade A หรือ Grade B(มาตรฐานกรมทางหลวง) ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 1 ถึง 5 ใช้ตะแกรงขนาด 19.0 มม. แบ่งแยกดินที่เก็บจาก หลุม ชั่งหามวลของดินส่วนที่มีเม็ดผ่านตะแกรง เป็น P5 และส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง เป็น P6 ส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. หรือวัสดุ พวก Grade A หรือ Grade B ไม่ต้องใส่ลงในหลุม ทดลอง ให้คำ นวณหาปริมาตรของดินส่วนที่เม็ดค้าง ตะแกรง เป็น V3 โดยหารด้วยความถ่วงจำเพาะ ที่ได้หาไว้ แล้ว ตามการทดลองที่ ทล. – ท. 207/2517 ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 6 ถึง 8 หาปริมาตรของหลุม เป็น V4 โดยเอาความแน่นของทรายไปหารมวลของทรายในหลุม และหักปริมาตรของส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงออก คือ ปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เป็น V5

เติมทรายในขวดกรวย ชั่งน้ำหนัก เริ่มการทดลอง เติมทรายในขวดกรวย ชั่งน้ำหนัก ปรับพื้นที่ทดลอง วางแผ่นฐาน ตอกตะปู คว่ำขวดกรวย ปล่อยทรายไหลลงจนเต็มกรวย ปิดลิ้น นำไปชั่งน้ำหนัก น้ำหนักที่หายไป เท่ากับน้ำหนักทรายในกรวย เก็บทราย ทำความสะอาดพื้นทดลอง เติมทรายในขวดกรวยให้เพียงพอ ชั่งน้ำหนัก เจาะดินในหลุมทดลอง นำใส่ภาชนะ ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว

อ ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว ค้าง ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ≥ 10 % หรือ วัสดุ Grade A หรือ Grade B ค้าง ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว < 10 % ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว ผ่าน 100 % ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว และดินที่ค้างตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินทั้งหมด ดินส่วนที่ค้างตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ใส่กลับคืนหลุมทดลอง หาปริมาตรของดินที่ค้างตะแกรง ขนาด ¾ นิ้ว โดยมีปริมาตรเท่ากับ น้ำหนักดินหารด้วย ถ.พ. เก็บตัวอย่างใส่กระป๋องอบดิน หาความชื้นในดิน คว่ำขวดกรวยปล่อยทรายไหลลงหลุม เมื่อทรายหยุดไหล ปิดลิ้น นำขวดกรวยไปชั่งน้ำหนัก นำปริมาตรของดินที่ค้างตะแกรง ขนาด ¾ นิ้วไปหักออก คำนวณหาปริมาตรหลุมทดลอง อ คำนวณหาความแน่นของวัสดุในหลุมทดลอง จบการทดลอง

คุณสมบัติวัสดุงานทาง (มาตรฐานกรมทางหลวง) ขนาด (Gradation) ลูกรัง ตามมาตรฐานรองพื้นทาง กรมทางหลวง ขนาดตะแกรง ร้อยละผ่านตะแกรงโดยมวลรวม A B C D E 2 นิ้ว 100 - 1 นิ้ว 3/8 นิ้ว 30-65 40-75 50-85 60-100 No.10 (2.00 มม.) 15-40 20-45 25-50 40-70 40-100 No.40 (0.425 มม.) 8-20 15-30 25-45 20-50 No.200 (0.075 มม.) 2-8 5-20 5-15 6-20 สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน

การคำนวณ มวลของทรายในหลุมและกรวย ความแน่นของทราย มวลของทรายในหลุม ปริมาณน้ำในดิน ความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. ปริมาตรของหลุม มวลของทรายในกรวย

การคำนวณ ความแน่นของดินที่มีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. น้อยกว่า 10% ของมวลรวม มวลของดินชื้นจากหลุม ปริมาตรที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มิลลิลิตร ความแน่นของดินชื้น ความแน่นของดินชื้น ความแน่นของดินแห้ง ความแน่นของดินแห้ง

การคำนวณ ความแน่นของดินที่มีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. มากกว่า 10% ของมวลรวม หรือ วัสดุ Grade A หรือ Grade B ความแน่นของดินชื้น ปริมาตรของดินที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มิลลิลิตร ความแน่นของดินแห้ง ปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เปอร์เซ็นต์การบดทับ

สรุป ข้อแตกต่างระหว่างการทดสอบ Field Density ตามมาตรฐานทล. -ท ปริมาตรในกรวยกับความหนาของเพลท การพิจราณาส่วนค้างตะแกรง 19 มม.(เทียบได้กับการทดสอบ Compaction TYPE C )

CALIBRATE SAND DENSITY AND VOLUME IN CONE วิธีที่ 1

W1= Wi1-Wf1 W2= Wi2-Wf2 V1 V2

Wt. Of Sand in Cone + Plate = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) V1 - V2 g sand = W1 - W2 V1 - V2 Wt. Of Sand in Cone + Plate = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) V1 - V2 Volume Sand in Cone + Plate = wt. Of Sand in Cone + Plate gd sand = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) W1 - W2

g Wet Soil = Wt. Wet Soil Vol. Hole Wt.of Sand Used = Wi - Wf g Dry Soil = g Wet Soil 1 + W 100 Vol. Sand Used = Wt. of Sand Used g sand Wt. Wet Soil Vol. Hole = Vol. Sand Used –Vol. Sand in Cone + Plate

Wt. Wet Soil – Wt. ส่วนค้าง ร่อนด้วยตะแกรงขนาดเดียวกับที่ใช้ร่อนดิน Compaction ส่วนผ่าน g Wet Soil = Wt. Wet Soil – Wt. ส่วนค้าง Vol. Hole – Vol. ส่วนค้าง