การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน จากนั้นนำไปชั่ง น้ำหนัก เป็น M1 2 ปรับพื้นผิวทดลองให้เรียบและได้ระดับ วางแผ่นฐาน ให้สนิทกับพื้นแล้วตอกตะปูยึดให้แน่น ใช้แปรงขนปัดฝุ่น ผิวหน้าดินและบนแผ่นฐานออกให้หมด 3 คว่ำขวดทรายให้ปากกรวยตรงกับร่องของแผ่นฐาน เปิดลิ้นให้ทรายไหลลงจนล้นขึ้นมาเต็มกรวย เมื่อทรายหยุด ไหลแล้วจึงปิดลิ้นนำขวดทรายที่เหลือไปชั่งน้ำหนัก เป็น M2 น้ำหนักที่หายไป M1 – M2 เท่ากับน้ำหนักทรายในกรวย M5 เก็บทรายบนแผ่นฐานและพื้นทดลองออก เติมทรายที่ สะอาดลงในขวดให้มีปริมาณเพียงพอกับการใช้งาน ปิดลิ้น ไว้ แล้วนำขวดทรายไปชั่งน้ำหนัก เป็น M3
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 4 เจาะดินตรงกลางแผ่นฐานเป็นรูปทรงกระบอก เส้น ผ่านศูนย์กลางเท่ารูตรงกลางของแผ่นฐาน โดยขุดเป็น แนวตั้งฉากตลอดชั้นวัสดุที่ทดลอง หรือลึกประมาณ 100- 150 มม. แต่งหลุมให้เรียบเพื่อให้ทรายแทนที่ได้สะดวก 5 นำ ตัวอย่างที่ขุดทั้งหมดใส่ภาชนะแล้วนำ ไปชั่งน้ำหนัก เป็น P1 จากนั้นหักน้ำหนักของภาชนะ P2 ออกได้น้ำหนัก ของมวลดินชื้นในหลุม เป็น P3 6 เก็บตัวอย่างดินใส่กระป๋องเก็บตัวอย่าง เพื่อนำไปหา ปริมาณความชื้นของดินในหลุมทดลอง 7 คว่ำขวดทรายให้ปากกรวยตรงกับร่องของแผ่นฐานเปิดลิ้น ให้ทรายไหลลงจนเต็มหลุม แล้วจึงปิดลิ้น นำขวดทราย ที่เหลือไปชั่งหาน้ำหนัก เป็น M4 น้ำหนักที่หายไป M3– M4 เท่ากับน้ำหนักของทรายที่แทนที่ในหลุมทดลองและในกรวย M6 เมื่อนำมวลของทรายในกรวยไปหักออก M6 –M5 จะได้มวลของทรายในหลุม M7 8 หาปริมาตรของหลุม เป็น V1 โดยเอาความแน่นของทราย ρs ไปหารมวลของทรายในหลุม
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50. 8 มม การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50.8 มม.และมีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง ขนาด 19.0 มม. น้อยกว่า 10% ของมวลรวม ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 1 ถึง 5 ใช้ตะแกรงขนาด 19.0 มม. แบ่งแยกดินที่เก็บจากหลุม ชั่งหามวลของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง เป็น P4 ส่วน ของมวลดินที่มีเม็ดค้างตะแกรงให้ ใส่กลับคืนลงในหลุม ทดลอง ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 6 ถึง 8 หาปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เป็น V2 โดยเอาความแน่นของทรายไปหารมวลของทรายในหลุม
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50. 8 มม การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 50.8 มม.และมีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง ขนาด 19.0 มม. มากกว่าหรือเท่ากับ 10% ของมวลรวม หรือวัสดุพวก Grade A หรือ Grade B(มาตรฐานกรมทางหลวง) ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 1 ถึง 5 ใช้ตะแกรงขนาด 19.0 มม. แบ่งแยกดินที่เก็บจาก หลุม ชั่งหามวลของดินส่วนที่มีเม็ดผ่านตะแกรง เป็น P5 และส่วนที่เม็ดค้างตะแกรง เป็น P6 ส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. หรือวัสดุ พวก Grade A หรือ Grade B ไม่ต้องใส่ลงในหลุม ทดลอง ให้คำ นวณหาปริมาตรของดินส่วนที่เม็ดค้าง ตะแกรง เป็น V3 โดยหารด้วยความถ่วงจำเพาะ ที่ได้หาไว้ แล้ว ตามการทดลองที่ ทล. – ท. 207/2517 ปฏิบัติการทดลองตามการทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรง ขนาด 19.0 มม. ข้อที่ 6 ถึง 8 หาปริมาตรของหลุม เป็น V4 โดยเอาความแน่นของทรายไปหารมวลของทรายในหลุม และหักปริมาตรของส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงออก คือ ปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เป็น V5
เติมทรายในขวดกรวย ชั่งน้ำหนัก เริ่มการทดลอง เติมทรายในขวดกรวย ชั่งน้ำหนัก ปรับพื้นที่ทดลอง วางแผ่นฐาน ตอกตะปู คว่ำขวดกรวย ปล่อยทรายไหลลงจนเต็มกรวย ปิดลิ้น นำไปชั่งน้ำหนัก น้ำหนักที่หายไป เท่ากับน้ำหนักทรายในกรวย เก็บทราย ทำความสะอาดพื้นทดลอง เติมทรายในขวดกรวยให้เพียงพอ ชั่งน้ำหนัก เจาะดินในหลุมทดลอง นำใส่ภาชนะ ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว
อ ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว ค้าง ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ≥ 10 % หรือ วัสดุ Grade A หรือ Grade B ค้าง ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว < 10 % ร่อนผ่าน ตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว ผ่าน 100 % ชั่งน้ำหนักดินที่ผ่านตะแกงขนาด ¾ นิ้ว และดินที่ค้างตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ชั่งน้ำหนักดินทั้งหมด ดินส่วนที่ค้างตะแกรงขนาด ¾ นิ้ว ใส่กลับคืนหลุมทดลอง หาปริมาตรของดินที่ค้างตะแกรง ขนาด ¾ นิ้ว โดยมีปริมาตรเท่ากับ น้ำหนักดินหารด้วย ถ.พ. เก็บตัวอย่างใส่กระป๋องอบดิน หาความชื้นในดิน คว่ำขวดกรวยปล่อยทรายไหลลงหลุม เมื่อทรายหยุดไหล ปิดลิ้น นำขวดกรวยไปชั่งน้ำหนัก นำปริมาตรของดินที่ค้างตะแกรง ขนาด ¾ นิ้วไปหักออก คำนวณหาปริมาตรหลุมทดลอง อ คำนวณหาความแน่นของวัสดุในหลุมทดลอง จบการทดลอง
คุณสมบัติวัสดุงานทาง (มาตรฐานกรมทางหลวง) ขนาด (Gradation) ลูกรัง ตามมาตรฐานรองพื้นทาง กรมทางหลวง ขนาดตะแกรง ร้อยละผ่านตะแกรงโดยมวลรวม A B C D E 2 นิ้ว 100 - 1 นิ้ว 3/8 นิ้ว 30-65 40-75 50-85 60-100 No.10 (2.00 มม.) 15-40 20-45 25-50 40-70 40-100 No.40 (0.425 มม.) 8-20 15-30 25-45 20-50 No.200 (0.075 มม.) 2-8 5-20 5-15 6-20 สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
การคำนวณ มวลของทรายในหลุมและกรวย ความแน่นของทราย มวลของทรายในหลุม ปริมาณน้ำในดิน ความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. ปริมาตรของหลุม มวลของทรายในกรวย
การคำนวณ ความแน่นของดินที่มีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. น้อยกว่า 10% ของมวลรวม มวลของดินชื้นจากหลุม ปริมาตรที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มิลลิลิตร ความแน่นของดินชื้น ความแน่นของดินชื้น ความแน่นของดินแห้ง ความแน่นของดินแห้ง
การคำนวณ ความแน่นของดินที่มีส่วนที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มม. มากกว่า 10% ของมวลรวม หรือ วัสดุ Grade A หรือ Grade B ความแน่นของดินชื้น ปริมาตรของดินที่เม็ดค้างตะแกรงขนาด 19.0 มิลลิลิตร ความแน่นของดินแห้ง ปริมาตรของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. เปอร์เซ็นต์การบดทับ
สรุป ข้อแตกต่างระหว่างการทดสอบ Field Density ตามมาตรฐานทล. -ท ปริมาตรในกรวยกับความหนาของเพลท การพิจราณาส่วนค้างตะแกรง 19 มม.(เทียบได้กับการทดสอบ Compaction TYPE C )
CALIBRATE SAND DENSITY AND VOLUME IN CONE วิธีที่ 1
W1= Wi1-Wf1 W2= Wi2-Wf2 V1 V2
Wt. Of Sand in Cone + Plate = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) V1 - V2 g sand = W1 - W2 V1 - V2 Wt. Of Sand in Cone + Plate = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) V1 - V2 Volume Sand in Cone + Plate = wt. Of Sand in Cone + Plate gd sand = ( V1 x W2 ) - ( V2 x W1 ) W1 - W2
g Wet Soil = Wt. Wet Soil Vol. Hole Wt.of Sand Used = Wi - Wf g Dry Soil = g Wet Soil 1 + W 100 Vol. Sand Used = Wt. of Sand Used g sand Wt. Wet Soil Vol. Hole = Vol. Sand Used –Vol. Sand in Cone + Plate
Wt. Wet Soil – Wt. ส่วนค้าง ร่อนด้วยตะแกรงขนาดเดียวกับที่ใช้ร่อนดิน Compaction ส่วนผ่าน g Wet Soil = Wt. Wet Soil – Wt. ส่วนค้าง Vol. Hole – Vol. ส่วนค้าง