ทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์ Soontareeporn Meepring, PhD,M.Sc, RN

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจูงใจ (Motivation)
Advertisements

Dr. Phachon K. President of - Siam Dhurakit School
หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
SCC : Suthida Chaichomchuen
(Individual and Organizational)
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
Title : Good Corporate Governance Concept : Bee Strong.
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเอกัตบุคคล Person Centered Theory
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การประเมินผู้ป่วยและครอบครัว ในการดูแลระยะยาว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษยสัมพันธ์
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
การพัฒนาบุคลิกภาพ.
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ปรัชญาทางการเมือง Political Philosophy
การรู้จักและเข้าใจตนเอง
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
JSON API Pentaho User Manual.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
แนวทางการจัดทำรายงาน
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว.
แนวทางการปฏิบัติงานสอบบัญชี ปี 2561
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
รายงานการประเมินตนเอง
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์
บทที่ 5 ภาวะผู้นำ และการจูงใจ
ทฤษฏีและหลักการบริหารค่าตอบแทน
SWU 351 wk3 Free Powerpoint Templates.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2.
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
พฤติกรรมผู้บริโภค 8 ตลาดผู้บริโภคและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
บุคลิกภาพ (ต่อ).
หน่วยที่ 3 การรู้จักตน.
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
เปิดทัศนคติและการวิเคราะห์บุคคล และมองคนด้วยหลักจิตวิทยาและพฤติกรรมบุคคลเพื่อเสริมสร้างความสำเร็จในงาน รศ.ดร.ทองฟู ศิริวงศ์
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
หลักการจัดการ Principle of Management
การรายงานผลการดำเนินงาน
การเมืองไทยในปัจจุบัน
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างพลังใจ และวางแผนชีวิต และสิทธิ
ตารางแสดงจำนวนบุคลากรแยกตามศูนย์
Chapter I Introduction to Law and Environment
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์ Soontareeporn Meepring, PhD,M.Sc, RN ทฤษฎีมนุษยนิยมและ ทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์ Soontareeporn Meepring, PhD,M.Sc, RN

แนวคิดและหลักการที่สำคัญของทฤษฎี ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทฤษฎี หัวข้อการบรรยาย แนวคิดและหลักการที่สำคัญของทฤษฎี ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทฤษฎี

จงบอกแนวคิดที่สำคัญของ ทฤษฏีมนุษยนิยมและชีววิทยาทางการแพทย์ คำถามก่อนเรียน??? จงบอกแนวคิดที่สำคัญของ ทฤษฏีมนุษยนิยมและชีววิทยาทางการแพทย์ อย่างน้อย 3 ข้อ

เอ๊ะ!!!! จะเกี่ยวกับทฤษฎีไม๊น๊ะ!!!!!! ถ้าพยาบาลให้ความเคารพและให้เกียรติ แก่ผู้ป่วยทุกคนอย่างเสมอภาค จะเกี่ยวข้องกับ เอ๊ะ!!!! จะเกี่ยวกับทฤษฎีไม๊น๊ะ!!!!!!

ทฤษฎีมนุษยนิยม Humanistic Theories แนวคิดที่สำคัญ คือ ชีวิต และ เป้าหมายสำคัญของ ความเป็นมนุษย์ “มนุษย์สามารถพัฒนาตนเองได้” เป้าหมายสูงสุด คือ การมีสุขภาพดีและความสงบสุข ในขอบเขตชีวิตแห่งตน

แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามความเชื่อทางปรัชญา ทฤษฎีมนุษยนิยม Humanistic Theories แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามความเชื่อทางปรัชญา กลุ่มปรัชญาฮิวแมนนิสติก (Humanistic Philosophy) กลุ่มปรัชญาเอกซิสเทนเซียลลิสท์ (Existentialist Philosophy)

กลุ่มปรัชญาฮิวแมนนิสติก เน้นเรื่อง ความสามารถและศักยภาพของมนุษย์ ความรักตัวตน การเจริญเติบโต ความต้องการขั้นพื้นฐาน อับราฮัมมาสโลว์ (Maslow) ผู้สร้างทฤษฎีแรงจูงใจ คาร์ลโรเจอร์ (Carl Roger) ผู้สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับตน

บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ (ความมีอิสระมีความเป็นตัวของตัวเอง) Carl Rogers บุคคลิกภาพของบุคคลจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไป  บุคคลที่ปรับตัวได้ (รับรู้ตามสภาพความเป็นจริง ยืดหยุ่น ยอมรับประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ ) บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ (ความมีอิสระมีความเป็นตัวของตัวเอง)

ทฤษฎีตัวตนของ Carl Rogers 1. ตนตามที่ตนมองเห็น (Self-concept) 2. ตนตามที่เป็นจริง (Real Self) 3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self)

1.ตนที่ตนมองเห็น (Self concept) เราเห็น หรือ ภาพที่คนอื่นเห็น 1. Perceived Self หรือ Self Concept: ภาพของตนที่เห็นว่าตนเองเป็นอย่างไร อาจมีหลายมุมมอง เป็นซึ่งอาจ ไม่ตรง กับความเป็นจริง หรือ ภาพที่คนอื่นเห็น Self Concept

2.ตนตามที่เป็นจริง (Real self) คนอื่นเห็น แต่บ่อยครั้งที่ตนเองก็มองไม่เห็นข้อเท็จจริงของตน

3.ตนตามอุดมคติ (Ideal self) เราต้องการ ในสภาพปัจจุบัน หรือการยึดบุคคลอื่น ๆ มาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต Ideal self

ตัวอย่างของ Self ในแบบต่างๆ ฉันฝัน Ideal self ฉันหุ่นดี Self Concept ตัวจริงของฉันReal Self

แกนนำบุคลิกภาพหรือประสบการณ์ The organism บุคลิกภาพถูกหล่อหลอมและผลักดันจากประสบการณ์ตั้งแต่ แรกเกิดจนจบชีวิต ประสบการณ์จึงเป็นแกนนำบุคลิกภาพ

แกนนำบุคลิกภาพหรือประสบการณ์ Unconscious conscious ประสบการณ์ของบุคคลเป็นสิ่งสำนึกรู้ได้ เฉพาะตน Phenomenal Field ผู้อื่นรู้ได้บางส่วน บางมุมเท่านั้น

การพัฒนาบุคลิกภาพ มนุษย์มีธรรมชาติใฝ่ดี เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูด้วยความรัก เอาใจใส่ จะเป็นเด็กที่มี self สมบูรณ์ พ่อแม่ที่ เลี้ยงลูกด้วยอารมณ์ ไม่คงเส้นคงวา เด็กจะเกิดความสับสนมีแนวโน้มเป็นผู้ใหญ่ ที่มีบุคลิกภาพบกพร่อง

5. บุคคลที่มีความสุขกาย สุขใจ คือ บุคคลที่มีสติสัมปชัญญะตลอดเวลา การพัฒนาบุคลิกภาพ 4. บุคคลที่มีบุคลิกภาพสมบูรณ์ คือ ผู้ที่คอยสำรวจตนเอง วิพากย์ วิจารณ์ตนเองอยู่ เสมอ 5. บุคคลที่มีความสุขกาย สุขใจ คือ บุคคลที่มีสติสัมปชัญญะตลอดเวลา

เป้าหมายในชีวิตของบุคคล โรเจอร์ เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนปรารถนาเป็นคนดีและต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ แต่มนุษย์ไม่สามารถแสดงธรรมชาติใฝ่ดีได้ เพราะสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย เขาจึงช่วยเหลือโดยการใช้วิธีการทำจิตบำบัด Client Centered Therapy

ชีวิตที่ดี Good life มีสติสัมปชัญญะ มีชีวิตที่ไม่ยึดติดอดีตหรืออนาคต ใช้ปัญญาหรือความคิดในการในการพิจารณาไตร่ตรองการกระทำของตนเอง มีอิสระ เสรีในการกระทำกิจกรรม มีความคิดสร้างสรรค์

ทฤษฎีความต้องการพื้นฐานของ Abraham Maslow เป็นชาวอเมริกัน อับราฮัม มาสโลว์ Abraham Maslow เป็นชาวอเมริกัน

ความต้องการของมนุษย์ 5 ขั้น

นักจิตวิทยามนุษยนิยมอธิบายถึงความต้องการของมนุษย์เป็น 5 ขั้น

รู้คุณค่าตนเองอย่างถ่องแท้ (Self-Actualization) รับรู้ความจริงอย่างมีประสิทธิภาพ ยอมรับตนและบุคคลอื่น มีความคิดเห็นและพฤติกรรมอย่างสภาพธรรมชาติ แก้ปัญหาโดยยึดปัญหาเป็นหลัก มีอารมณ์ขัน

รู้คุณค่าตนเองอย่างถ่องแท้ (Self-Actualization) 6. มีความคิดสร้างสรรค์สูง 7. ไม่คล้อยตามกลุ่มสังคมอย่างง่ายๆ 8. เอาใจใส่ความเป็นอยู่ของผู้อื่น 9. มีความภาคภูมิใจในตน 10. สร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นด้วยความจริงใจ

ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ข้อสังเกต ความต้องการของมนุษย์จะพัฒนาจากความต้องการขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนาไป ตามลำดับขั้นตอน เช่น ถ้าท้องยังไม่อิ่ม เราก็ยังไม่ต้องการความปลอดภัย หรือ บางครั้งเราอาจกล้ายอมเอาชีวิตแลกกับอาหาร เป็นต้น

หลักการประเมินทฤษฎีบุคลิกภาพ แนวมนุษยนิยม ข้อมูลมีลักษณะเป็นข้อมูลจิตพิสัย ข้อมูลไม่ครอบคลุมถึงบุคคลโดยทั่วไป ทฤษฏีเน้นการทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพที่เจริญงอกงาม มองมนุษย์ในแง่ดี เป็นทฤษฎีที่ได้รับความนิยมจากนักจิตวิทยา

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ที่มาของแนวคิดทฤษฎี อธิบายถึงสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช ทฤษฎีอื่นๆ เช่น มนุษยนิยม พฤติกรรมนิยม ไม่สามารถอธิบายถึงสาเหตุของการเจ็บป่วย

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 (ประมาณ ค.ศ. 1900) อดอฟ เมเยอร์ (Adolf Meyer) บุคคลแรก ที่เสนอแนวคิดว่าการเจ็บป่วยทางจิตมีสาเหตุ มาจากร่างกายและจิตใจ

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ บุคคลเป็นหน่วยรวมขององค์ประกอบ ด้านชีวภาพ และจิตใจ การเจ็บป่วยทางจิตเป็นเครื่อง แสดงถึงการมีพยาธิสภาพ ทางด้านชีวภาพและ ความล้มเหลว ของ การปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม ของบุคคล

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ศตวรรษที่ 20 เริ่มมีการจำแนกโรค (era of classification) ส่งผลให้การแพทย์หันมาให้ความสนใจกับการแสดงออกของบุคคล รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ด้านอารมณ์ และ พฤติกรรม มีการสังเกต การแสดงออกของอารมณ์ พฤติกรรมมากขึ้น

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ช่วง ค.ศ. 1856 – 1926 อีมิล แครพลิน (Emil Kraepelin) ได้เริ่มการจัดระบบการจำแนกโรคทางจิตเวช ที่มีความชัดเจนและครอบคลุมโรคทางจิตเวช มากขึ้น

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ช่วงปี ค.ศ. 1950 มีการค้นพบและใช้ยา Chlorpromazine (CPZ) และทำให้อาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท (Schizophrenia) สงบลง

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ในปี ค.ศ. 1990 การพยาบาลในผู้ป่วยจิตเวชได้เริ่มให้ความสำคัญในเรื่องของความผิดปกติของสมอง เช่นกัน โดยได้มีการ เพิ่มเนื้อหา การศึกษาเรื่อง โครงสร้างของระบบประสาท และประสาทวิทยา รวมทั้งพัฒนาการให้การพยาบาลในด้านนี้มากขึ้น

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ 1. บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านอารมณ์และจิตใจ 2. สาเหตุของการเจ็บป่วยนั้นเชื่อว่ามาจากการทำงานของสมอง โดยเฉพาะระบบลิมบิค Limbic system และระบบไซแนบ Synapse ในระบบประสาทส่วนกลาง

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์  สารสื่อประสาท Neurotransmitters ที่มีมากหรือน้อยเกินไป  การเปลี่ยนแปลงของจังหวะการทำงานของชีวภาพของร่างกาย  ปัจจัยทางพันธุกรรม Genetic factors

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ 3.ความเจ็บป่วยนั้นจะมีลักษณะของโรคและมีอาการแสดงที่สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลใน การวินิจฉัยและจำแนกโรค ได้ 4. โรคทางจิตเวชมีการดำเนินโรคที่ แน่นอน และ สามารถพยากรณ์โรค ได้

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ ของผู้ป่วยและครอบครัว 5.โรคทางจิตเวชสามารถรักษาได้โดยการรักษาแบบฝ่ายกาย 6. แนวความคิดที่ว่าโรคทางจิตมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางชีวภาพช่วยลดความรู้สึกเป็น ตราบาป (Stigma) ของผู้ป่วยและครอบครัว

ทฤษฎีชีววิทยาทางการแพทย์ สรุป แนวคิดทางทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์ เป็นเพียงแนวคิดหนึ่งที่พยาบาลสามารถนำมาผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีพื้นฐานทางการพยาบาลจิตเวช เพื่อช่วยให้พยาบาลเกิด ความเข้าใจ ใน พฤติกรรมของผู้ป่วย และสามารถให้การพยาบาลผู้ป่วยที่ครอบคลุม ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม

ถ้าพยาบาลให้ความเคารพและให้เกียรติ แก่ผู้ป่วยทุกคนอย่างเสมอภาค จะเกี่ยวข้องกับ เอ๊ะ!!!! จะเกี่ยวกับทฤษฎีไม๊น๊ะ !!!!!! เป็นการประยุต์ใช้แนวคิดทฤษฎีมนุษยนิยม !!!