งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 3 การรู้จักตน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 3 การรู้จักตน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 3 การรู้จักตน

2 หน่วยที่ 3 ประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
รู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถกำหนดจุดมุ่งหมายของชีวิตได้ วิเคราะห์ตนเองและเชื่อมโยงผลที่ได้สู่การพัฒนา ประยุกต์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์

3 ตน (Self) 1. ตนตามความเป็นจริง (Real Self) = ฉันเป็นจริงๆ
โรเจอร์ส (Carl R. Rogers) เชื่อว่า ตนเป็นบ่อเกิดของการรับรู้ ที่บุคคลมีต่อตนเองไม่ว่าจะอยู่ในฐานะผู้รู้ หรือผู้ถูกรับรู้ โดย ได้จำแนกตน (Self) ไว้เป็น 3 ส่วน ดังนี้คือ 1. ตนตามความเป็นจริง (Real Self) = ฉันเป็นจริงๆ 2. ตนตามการรับรู้ (Perceived Self) = ฉันคิดว่าฉันเป็น 3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) = ฉันอยากจะเป็น

4 ตน ในทางพุทธศาสนา ร่างกาย การจดจำ การปรุงแต่ง
อวัยวะรับสัมผัส/ความรู้สึก ร่างกาย การจดจำ การปรุงแต่ง ความคิด/ความเข้าใจ/จิตใจ

5 อัตมโนทัศน์ (Self Concept)
รอเจอร์ส (Carl R. Rogers) เชื่อว่า อัตมโนทัศน์เป็นผลมาจากปัจจัยสำคัญ 4 ประการดังนี้คือ 1. การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 2. การเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่น 3. การรับข้อมูลย้อนกลับมาจากผู้อื่น 4. การสังเกตความรู้สึก ความคิด และพฤติกรรมของตนเอง

6 ตน (Self) 1. ตนตามความเป็นจริง (Real Self) = ฉันเป็นจริงๆ
โรเจอร์ส (Carl R. Rogers) เชื่อว่า ตนเป็นบ่อเกิดของการรับรู้ ที่บุคคลมีต่อตนเองไม่ว่าจะอยู่ในฐานะผู้รู้ หรือผู้ถูกรับรู้ โดย ได้จำแนกตน (Self) ไว้เป็น 3 ส่วน ดังนี้คือ 1. ตนตามความเป็นจริง (Real Self) = ฉันเป็นจริงๆ 2. ตนตามการรับรู้ (Perceived Self) = ฉันคิดว่าฉันเป็น 3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) = ฉันอยากจะเป็น

7 ตนตามความเป็นจริง (Real Self)
เป็นความจริงของบุคคลที่เกิดขึ้น ทั้งที่ ต้องการและไม่ต้องการให้เกิดขึ้น เป็นทั้งจุดเด่น และจุดด้อย ทั้งที่ทราบและไม่ทราบ อันเป็น ธรรมชาติของบุคคลนั้น ตนตามความเป็นจริงจึงเป็นข้อมูล ข้อเท็จจริง ทั้งหมดของตน เป็นส่วนที่ “ฉันเป็นจริง ๆ”

8 ตนตามการรับรู้ (Perceived Self)
หมายถึง ตนตามที่ตนเองได้รับรู้ รวมทั้งตามที่ผู้อื่น คาดหวัง เป็นตัวตนที่เกิดขึ้นจากการประเมิน หรือคิด ว่าตนเองเป็น ซึ่งอาจตรงตามความจริงหรือไม่ก็ได้ ขาดหรือเกินไปก็ได้ ตนตามการรับรู้จึงเป็นส่วนที่เรียกว่า “ฉันคิดว่าฉัน เป็น”

9 ตนตามอุดมคติ (Ideal Self)
หมายถึง ตนตามความอยากจะเป็น ตนตามความ คาดหวัง ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากความคาดหวังของ สังคมด้วย ตนตามอุดมคติ เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ บุคคลเกิดแรงจูงใจพัฒนาตนให้ไปถึงขีดสูงสุดตาม ศักยภาพของตนที่มีอยู่ เป็นส่วนที่เรียกว่า “ฉันอยากจะเป็น” “น่าจะ” “ควรจะ” “ไม่น่าจะ” “ไม่ควรจะ”

10 การปรับตัวได้ดี Ideal real หากตัวตนทั้งสามเป็นไปด้วยกัน หรือมีความ สอดคล้องกัน จะทำให้บุคคลเกิดความสอดคล้อง (Congruence) ในตนเอง เกิดการประเมินตนเองเชิง ยอมรับและเห็นคุณค่าในตนเอง นั่นคือ มีอัตมโน ทัศน์เชิงบวก (Positive Self-concept) ส่งผลให้บุคคล ปรับตัวได้ดี

11 การปรับตัวได้ยาก Ideal real ตนทั้งสามไม่ไปด้วยกันหรือไม่มีความสอดคล้องกัน (Incongruence) จะทำให้บุคคลประเมินตนเองเชิงลบ (Negative Self-Concept) ส่งผลให้บุคคลปรับตัวไม่ได้

12 ทฤษฏีของไวลี่ย์ (Wylie)
อัตมโนทัศน์ อัตมโนทัศน์ที่เป็นจริง รับรู้จากสังคม รับรู้จากตน อัตมโนทัศน์ในอุดมคติ ตนเอง สังคม ทฤษฏีของไวลี่ย์ (Wylie)

13 ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
การเห็นคุณค่าแห่งตน (Self Esteem) ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม

14

15 เป็นการประเมินตนเอง ใน 2 ด้าน คือ ความสามารถ (Self-efficacy)
การเห็นคุณค่าแห่งตน (Self Esteem) เป็นการประเมินตนเอง ใน 2 ด้าน คือ ความสามารถ (Self-efficacy) ความเชื่อว่าตนทำได้ (Self-respect)

16 ลักษณะของผู้ที่เห็นคุณค่าแห่งตน
ในระดับต่ำ ประสบความผิดหวัง หรือล้มเหลวในชีวิต มีแนวโน้มที่จะยอมให้สิ่งภายนอกควบคุม ขาดทักษะมนุษยสัมพันธ์ มีแนวโน้มที่มีบุคลิกภาพแบบทำลาย

17 ลักษณะของผู้ที่เห็นคุณค่าแห่งตน
ในระดับสูง มีอนาคตไม่ยึดติดอยู่กับความผิดหรือความล้มเหลว ในอดีต สามารถเรียนรู้ความผิดพลาดแต่ไม่ยึดติด - สามารถจัดการกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ โดยไม่อยู่กับความเศร้าซึมหรือโกรธแค้น - สามารถบริหารจัดการได้อย่างเหมาะสม รักษาสัมพันธภาพเชิงบวกกับบุคคลรอบข้างได้

18 ลักษณะของผู้ที่เห็นคุณค่าแห่งตน
ในระดับสูง เป็นบุคคลที่สามารถให้และรับความช่วยเหลือจากผู้อื่นได้ เรียนรู้ที่จะยอมรับบุคคลตามที่เขาเป็นและตามความสามารถของเขา เป็นบุคคลที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง ให้และรับไมตรีได้ โดยไม่ต้องครุ่นคิดกังวล และสามารถพูดเกี่ยวกับตนเองได้

19 การปรับระดับ การเห็นคุณค่าแห่งตน ระดับการเห็นคุณค่าแห่งตนสามารถปรับเปลี่ยนได้ โดยการตรวจสอบภาพพจน์ตนเองด้วยความเข้าใจว่า เราเป็นใคร ทำอะไร พัฒนาตนไปช้าๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยการตั้งเป้าประสงค์ความสำเร็จ และพูดกับตนเองเชิงบวก

20 ทฤษฎีหน้าต่างหัวใจของโจฮารี่
(The Johari Window) พัฒนาโดยลุฟท์ (Luft) และอิงแฮม (Ingham) ลักษณะของพฤติกรรมของบุคคล 4 แบบ เปรียบได้กับบริเวณต่างๆในหน้าต่าง หัวใจ

21 ทฤษฎีหน้าต่างหัวใจของโจฮารี่
(The Johari Window) ตนเอง รู้ ไม่รู้ รู้ ผู้อื่น ไม่รู้ เปิดเผย (Open Area) จุดบอด (Blind Area ) ซ่อนเร้น (Hidden Area) อวิชชา (Unknown Area)

22 I'm OK - You're OK. I'm OK - You're not OK I'm not OK - You're OK
ตน ตามทฤษฏีการเชื่อมโยงความคิด จุดยืนของชีวิต (Life Position) I'm OK - You're OK. I'm OK - You're not OK I'm not OK - You're OK I'm not OK - You're not OK.

23 ตนตามแนวทฤษฎี การวิเคราะห์การสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Transactional Analysis : T.A.) เป็นทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นโดยจิตแพทย์ชาวแคนาดา ชื่อ ดร.อีริค เบิร์น (Dr. Eric Berne) สาระสำคัญ ประกอบด้วย - โครงสร้างบุคลิกภาพ - รูปแบบการสื่อสารสัมพันธ์

24 แบบทดสอบ

25 ข้อ คุณลักษณะ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 6 7 เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีเมตตา เห็นอกเห็นใจ ชอบแสดงความรู้ เผด็จการ ยึดหลักประเพณี ชอบสั่งสอน 8 ชอบตำหนิติเตียน 9 มีข้อห้ามเรื่อย ๆ 10 ไม่คงเส้นคงวา

26 ข้อ คุณลักษณะ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 6 7 11 มีเหตุผล 12 ชอบคาดคะเน 13 ชอบประเมิน 14 ยึดข้อเท็จจริง 15 ชอบทดสอบ ทดลอง 16 ชอบหาวิธีแก้ปัญหา 17 ใจเย็น 18 รับฟังผู้อื่น 19 เสนอวิธีการแก้ปัญหา 20 มีระบบระเบียบ

27 ข้อ คุณลักษณะ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 6 7 21 เอาใจคนเก่ง สุภาพ 22 ใจเร็ว 23 แสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ชอบรู้ชอบเห็น 24 ตามใจตนเอง 25 ก้าวร้าว 26 มีความคิดริเริ่ม 27 ยอมคล้อยตาม 28 ขี้อาย 29 ชอบอยู่ตามลำพัง ไม่ชอบสังคม 30 ใจอ่อน

28 รวมคะแนน 1-10 = ? = ? = ? P A C

29 บุคคลประกอบด้วยลักษณะการแสดงออก 3 ส่วนด้วยกัน คือ
1. โครงสร้างบุคลิกภาพ บุคคลประกอบด้วยลักษณะการแสดงออก 3 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนที่มีลักษณะคล้ายพ่อแม่ P = Parent Ego State ส่วนที่มีลักษณะคล้ายผู้ใหญ่ A = Adult Ego State ส่วนที่มีลักษณะคล้ายเด็ก C = Child Ego State

30 1.1 สภาวะความเป็นพ่อแม่ (Parent Ego State : P)
เป็นลักษณะบุคลิกภาพที่ได้รับการถ่ายทอดจากพ่อ แม่ ผู้เลี้ยงดู เป็นการแสดงพฤติกรรมของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กในปกครอง มีลักษณะการประเมินคุณค่า ใช้มาตรฐานทางสังคม ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดำเนินชีวิตมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาเพื่อตัดสิน พฤติกรรมของผู้อื่น แสดงออกใน 2 ลักษณะคือ วิพากษ์วิจารณ์ จู้จี้ วางอำนาจ ตำหนิ จับผิด ลงโทษ อบรม สั่งสอน ชี้แนะ ตั้งกฎเกณฑ์ เมตตากรุณา คอยช่วยเหลือปกป้องคุ้มครองให้มีความสุขสบายทางกาย เอื้ออาทร ปลอบโยน เอาใจใส่ ให้กำลังใจ ให้ความเข้าใจต่อผู้อื่น

31 1.2 สภาวะความเป็นผู้ใหญ่ (Adult Ego State :A)
เป็นลักษณะบุคลิกภาพที่คล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นแหล่งเก็บข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงต่าง ๆ ลักษณะบุคลิกภาพเป็นผู้แสวงหาข้อเท็จจริง แยกแยะปัญหาตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนพิจารณาตัดสินใจใด ๆ ใช้สติปัญญาพิจารณาความถูกต้องเหมาะสมโดยหลักของเหตุผลไม่มีอารมณ์ความรู้สึกเข้ามาเกี่ยวข้อง จำแนกความเป็นจริงออกจากความคิดเห็น ความเพ้อฝัน ความรู้สึกขนบธรรมเนียมประเพณีได้อย่างเหมาะสม มักจะตรวจสอบสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยคำถามว่า "อะไร" "ทำไม" "อย่างไร" "ที่ไหน" "เมื่อไร" อยู่เสมอ

32 1.3 สภาวะความเป็นเด็ก (Child Ego State :C)
เป็นลักษณะบุคลิกภาพที่แสดงถึงความคิด ความรู้สึกที่แท้จริงของบุคคล เป็นอารมณ์ตามธรรมชาติของเด็กในวัย 0-7 ปีที่แสวงหาความสุข ความพึงพอใจให้แก่ตนเอง ตลอดจนการแสดงความรู้สึกที่เกิดขึ้น ในขณะนั้น มี 2 ลักษณะคือ 1. เปิดเผยอารมณ์ ความรู้สึก ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตามที่อยากจะเป็น 2. เป็นลักษณะบุคลิกภาพที่พัฒนาขึ้นหลังจากได้รับการอบรม ขัดเกลาจาก พ่อแม่ ผู้ปกครองทำให้รู้จักไตร่ตรอง ยอมรับฟัง ยอมทำตาม เชื่อฟัง ชอบพึ่งพาผู้อื่น ไม่กล้าตัดสินใจ

33 2. รูปแบบการสื่อสารสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคลย่อมเป็นการสื่อสารกันระหว่างบุคลิกภาพของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ติดต่อสัมพันธ์กันในขณะนั้น การที่บุคคลส่งสารออกไปไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรม ท่าทีการแสดงออกหรือคำพูด บุคคลย่อมคาดหวังที่จะได้รับการสะท้อนกลับซึ่งพฤติกรรม ท่าทีและคำพูด จากผู้ที่ตนติดต่อสัมพันธ์ ในระดับหนึ่ง รูปแบบการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลมี 3 รูปแบบ

34 2.1 การสื่อสารสัมพันธ์ แบบสอดคล้องกัน
เป็นการติดต่อสัมพันธ์ในลักษณะถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน ผู้ส่งสารได้รับการตอบสนองจากผู้ที่ตนติดต่อตามที่ตนคาดหวังไว้ ทิศทางของการสื่อสารเป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกัน กานดา ยุพา P P A A กานดา : เธอเป็นอะไรไปหรือเปล่าหน้าซีดจัง ยุพา : ฉันปวดหัวจังเลย C C

35 2.2 การสื่อสารสัมพันธ์ แบบขัดแย้งกัน
2.2 การสื่อสารสัมพันธ์ แบบขัดแย้งกัน เป็นการติดต่อสัมพันธ์ในลักษณะที่ขัดแย้ง ทิศทางการสื่อสัมพันธ์ เป็นไปคนละทาง ผู้ส่งสารได้รับการตอบสนองจากผู้ที่ตนส่งสารไม่เป็นไปตามที่ตนคาดหวัง เจี๊ยบ แจง P P A A เจี๊ยบ : อย่าคุยกันสิ เดี๋ยวจะไม่เข้าใจว่าอาจารย์สอนอะไร C C แจง : ไม่ต้องมายุ่งกับฉัน เธอตั้งใจเรียนเถอะ

36 2.3 การสื่อสารสัมพันธ์ แบบมีนัยเคลือบแฝง
2.3 การสื่อสารสัมพันธ์ แบบมีนัยเคลือบแฝง เป็นการสื่อสารสัมพันธ์ที่ผู้สื่อสารแสดงวาจา หรือพฤติกรรมออกมาอย่างหนึ่ง แต่ความต้องการแท้จริงที่ซ่อนไว้เป็นอีกอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ เพราะความต้องการ ที่แท้จริงอาจจะไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม ผู้ที่ใช้การสื่อสารแบบนี้มักจะใช้เพื่อดึงคนอื่นมาเล่นเกมตามที่ตนต้องการ เพื่อระบายความรู้สึกที่มีอยู่ในตนเองออกมา เพื่อความสะใจของตน หน่อย น้อย P P A A หน่อย : เสื้อเธอสวยจัง ซื้อจากไหนเหรอ น้อย : พารากอน ราคา 15,000 บาท (นัยเคลือบแฝง : ฉันรวย) C C

37 ตัวอย่าง P P P P A A A A C C C C P P P P P P A A A A A A C C C C C C
1. 2. P P P P A A A A 5. C C C C P P 3. 4. P P P P A A A A A A C C C C C C

38 การรู้จักตนในรูปแบบปฏิสัมพันธ์ ABC
รู้สึก (Affection) กระทำ(Behavior) คิด(Cognitiion)

39 การรู้จักตนในรูปแบบปฏิสัมพันธ์ ABC

40 การประเมินตนเองด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา
การสังเกต 2. การรายงานตนเอง 3. การสัมภาษณ์ 4. การใช้แบบสอบถาม 5. การใช้แบบทดสอบ

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 3 การรู้จักตน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google