การเคลื่อนที่แบบวงกลม limiting reactant limiting reactant การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular motion)
กิจกรรมที่ 3 จากการชมวิดีโอ limiting reactant limiting reactant - นักเรียนรู้อะไรบ้าง - อยากรู้อะไรที่เกี่ยวข้องวิดีโอ
การทดลองที่ 2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม limiting reactant limiting reactant จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาลักษณะของการเคลื่อนที่แบบวงกลม 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาบและแรงสู่ศูนย์กลางของวัตถุ(ราบ)
วิธีการทดลอง 1. ให้วัดระยะจากจุดกึงกลางของจุกยางตามเส้นเชือกออกไปถึงปลายบนหลอดพีวีซี ยาว 60 เซนติเมตร และใช้ลวดหนีบกระดาษหนีบเส้นเชือกห่างจากปลายของหลอดพีวีซี ประมาณ 1 cm
วิธีการทดลอง 2. ใช้นอตแขวนที่ขอเกี่ยวโลหะ 2 ตัว
วิธีการทดลอง 3. สมมติให้นอต 1 ตัวแทนแรงขนาด 1F 4. จับท่อพีวีซีให้จุกยางเคลื่อนที่ในแนววงกลมในแนวระนาบระดับด้วยความถี่พอดี(ทำให้ลวดอยู่ห่างจากพีวีซี 1-2 cm
วิธีการทดลอง 7. บันทึกขนาดแรงตึงเชือกและคาบของการแกว่ง 8. เขียนกราฟแสดงความสมพันธ์ระหว่าง แรงตึงเชือกกับส่วนกลับของคาบการแกว่งยกกำลังสอง
วิธีการทดลอง 5. จับเวลาในการเคลื่อนที่ครบ 30 รอบแล้วนำมาคำนวณหาคาบ คาบ คือ เวลาที่เคลื่อนที่ 1 รอบ 6. ทำการทดลองซ้ำโดยเพิ่มจำนวนนอตทำให้ขนาดแรงตึงเชือกเป็น 3F 4F 5F 6F
วิธีการทดลอง 7. ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ y กับ x2
จากวิธีการทดลองนักเรียนจะตั้งสมมติฐานว่าอย่างไร กำหนดตัวแปรอย่างไร ออกแบบตารางบันทึกผลอย่างไร limiting reactant limiting reactant