ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บทที่ 3 ภาวะผู้ตาม ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ความหมายของผู้ตาม (Followers) - บุคคลที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม คณะ หรือทีมงานที่ต้องปฏิบัติตามภารกิจตามคำสั่ง หรือคำขอร้องของผู้นำ - บุคคลที่ต้องทำตามความคิดหรือตามคำสอนของบุคคลอื่น - เป็นผู้ปฏิบัติงานและกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้การชี้นำและคำแนะนำของผู้นำ

ความต้องการของผู้ตาม การจัดลำดับของคุณลักษณะที่พึงปรารถนา ผู้นำที่พึงปรารถนา เพื่อนร่วมงาน(ผู้ตาม)ที่พึงปรารถนา มีความซื่อสัตย์(Honest) มีความคิดไปข้างหน้า(กว้างไกล)(Forward-thinking) มีแรงดลใจ(Inspiring) มีความสามารถ(Competent) ให้ความร่วมมือ(Cooperative) สามารถพึ่งพาได้()

ความกล้าของผู้ตาม (The Courageous Follower) นอกจากนี้บทบาทของผู้ตามยังเกี่ยวกับความกล้าในเรื่องต่อไปนี้ 1. กล้าที่จะแสดงความรับผิดชอบ (Courage to assume responsibility) เกิดความรู้สึกสำนึกในความรับผิดชอบส่วนตัวในฐานะที่ตนเป็นเจ้าขององค์การและต่อพันธกิจขององค์การที่ตนเกี่ยวข้องอยู่ กล้าแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทำ

2. ความกล้าที่จะบริการ (Courage to serve) ผู้ตามที่มีความกล้าจะสามารถมองออกถึงความต้องการขององค์การ และจะแสดงออกอย่างกระตือรือร้นที่จะเข้าไปให้ความช่วยเหลือตอบสนองความต้องการนั้น จะใช้จุดเด่นของตนสนับสนุนต่อการตัดสินใจของผู้นำ และสร้างผลงาน 3. ความกล้าที่จะท้าทาย (Courage to challenge) ผู้ตามที่มีความกล้าจะไม่ยินยอมที่จะเสียสละวัตถุประสงค์ขององค์การหรือจริยธรรมของตนเพื่อแลกกับการลดความขัดแย้งหรือเพื่อความสงบราบรื่น จะแสดงจุดยืนที่มั่นคงและกล้าคัดค้านการกระทำหรือการตัดสินใจของผู้นำ หากเป็นพฤติกรรมที่ขัดต่อผล

4. ความกล้าในการเข้าร่วมในกระบวนการเปลี่ยนแปลง (Courage to participate in transformation) เมื่อองค์การอยู่ในภาวะยุ่งยากต่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ผู้ตามจะให้การสนับสนุนช่วยเหลือโดยไม่หวั่นไหวต่ออุปสรรคปัญหาเมื่อเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นก่อให้เกิดผลดีต่อส่วนรวมในระยะยาว 5. ความกล้าที่จะไปจากองค์การ (Courage to leave) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นแก่องค์การก็จะกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ตาม และจะมีความขัดแย้งตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อเผชิญความขัดแย้งที่ผู้นำไม่ยอมเปลี่ยนแปลงในประเด็นที่เป็นประโยชน์ขององค์การเท่าที่ควร จะตัดสินใจจากองค์การไป

อุปนิสัย 7 ประการที่นำไปสู่การเป็นคนที่มีประสิทธิผลสูง ประสิทธิผล ให้แนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพตนเองของผู้ตามดังนี้ 1. ต้องมีนิสัยเชิงรุก (Be Proactive) หมายถึงการมีพฤติกรรมหรือการคิดที่ต้องเป็นฝ่ายเริ่มต้น ก่อนที่จะรอให้เหตุการณ์เกิดขึ้น และต้องเป็นฝ่ายตั้งรับ (Reactive) เป็นคนที่รับผิดชอบต่อวิถีชีวิตตนเอง ถือว่าตนมีความสามารถในการกำหนดทางเลือกและการกระทำด้วยตนเองอย่างมีหลักการ เมื่อไม่เป็นตามคาดหมายก็จะไม่ตำหนิหรือโยนความผิดพลาดให้ผู้อื่น หรือโทษสภาพแวดล้อมหรือโชคชะตา เชื่อว่าอะไรที่เกิดขึ้นไม่ใช่ประเด็นสำคัญ ที่สำคัญคือจะมีวิธีการดำเนินการต่อสิ่งที่เกิดขึ้นให้มีผลมากที่สุดได้อย่างไร

2. เริ่มต้นในใจด้วยจุดมุ่งหมาย (Begin with the end in mind) ก่อนเริ่มต้นต้องกำหนดผลสำเร็จที่เป็นเป้าหมายปลายทางให้ชัดเจนในใจเสียก่อน รู้ว่าอะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับตนเอง เปรียบเหมือนการเดินทางก็คือ ก่อนออกเดินทางจำต้องกำหนดเป้าหมายและแผนการเดินทางไว้ล่วงหน้าเป็นอย่างดี 3. ทำตามลำดับความสำคัญก่อนหลัง (Put first things first) วิธีการพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการควบคุมเรื่องเวลาและเหตุการณ์

4. คิดแบบชนะ - ชนะ (Think win - win) หมายถึงความเข้าใจและตระหนักว่า ถ้าปราศจากความร่วมมือแล้วยากที่องค์การจะประสบความสำเร็จได้ และทำให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ชนะ 5. เข้าใจคนอื่นก่อนจะให้คนอื่นเข้าใจเรา (Seek first to understand, then to be understood) เป็นหลักการสำคัญของการสื่อสารที่มีประสิทธิผล การเข้าใจคนอื่นก่อนนั้น ต้องอดทนฟัง ไม่ด่วนตัดสินใจ แต่ต้องสามารถที่จะรับฟังในสิ่งที่เป็นจุดยืนของผู้อื่นก่อน การรับฟังแบบเข้าออกเข้าใจจะช่วยทำให้เข้าใจต่อความรู้สึกของผู้อื่นได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

6. ประสานพลัง (Synergy) เป็นการกระทำร่วมกันที่เกิดขึ้นจากการที่คนทำงานร่วมกัน ทำให้ได้ผลงานมากกว่าการที่แต่ละคนแยกกันทำงานนั้น การทำงานร่วมกันโดยคนแต่ละคนต่างมีความคิดที่ต่างกัน ย่อมหมายถึงการช่วยกันคิด และจะได้คำตอบหรือทางเลือกที่ดีที่สุดออกมา 7. ลับเลื่อยให้คม (Sharpen the saw) เป็นวงกลมที่ล้อมรอบอุปนิสัยทั้งหกที่กล่าวมาแล้ว เป็นอุปนิสัยที่ทำให้อุปนิสัยอื่นทำงานได้อยู่ตลอดเวลา เป็นการช่วยเสริมสร้างและปรับปรุงความสดใหม่ทั้งทางร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ และพื้นฐานทางสังคมต่าง ๆ ให้แก่ชีวิตอยู่เสมอ

กลยุทธ์ของผู้ตามที่มีประสิทธิผล เดพ (Daft) ได้เสนอกลยุทธ์ที่มีประสิทธิผลที่ผู้ตามสามารถใช้ในการเกิดอิทธิพลต่อผู้นำของตน 4 ประการดังนี้ 1. การเป็นแหล่งวิทยาการแก่ผู้นำ (Be a resource for the leader) ผู้ตามที่มีประสิทธิผลจะบอกให้ผู้นำทราบถึงแนวคิด ความเชื่อ ความต้องการ และข้อจำกัดต่าง ๆ ของตน และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือ 2. การช่วยเหลือผู้นำให้เป็นผู้นำที่ดี (Help the leader be a good leader) ช่วยสนับสนุนให้ผู้นำเป็นผู้นำที่ดี บอกความคิดเห็นของตน

3. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้นำ (Build a relationship with the leader) มีการพูดจาแลกเปลี่ยนวิพากษ์วิจารณ์หรือให้ข้อมูลบ่อย ๆ ทำให้เกิดความสนิทสนมและไว้วางใจต่อกัน 4. การมองผู้นำตามความเป็นจริง (View the leader realistically) หมายถึง การลบภาพในอุดมคติของผู้นำออกจากความรู้สึกนึกคิดในใจของผู้ตาม โดย มองผู้นำจากความเป็นจริง ตัวอย่างเช่น พนักงานที่เชื่ออย่างฝังใจว่านายไม่ชอบตนเนื่องจากนายวางตัวเฉยไม่เคยพูดคุยกับตน ทั้ง ๆ ที่ตนยอมรับว่านายเป็นคนที่มีความรู้ความสามารถและมีความรับผิดชอบสูงคนหนึ่ง เป็นต้น

คุณลักษณะของผู้ตาม คุณลักษณะที่จำเป็นสำหรับผู้ตามที่มีประสิทธิผล มี 4 ประการดังนี้ 1. สามารถบริหารจัดการตนเองได้ดี (Self - management) สามารถควบคุมตนเอง มีความอิสระ พึ่งตนเองได้ และสามารถทำงานได้ดีโดยปราศจากการตรวจตราใกล้ชิด ผู้นำสามารถไว้วางใจได้ในการมอบหมายความรับผิดชอบ 2. มีความผูกพัน (Commitment) ต่อองค์การและต่อวัตถุประสงค์ หลักการหรือบุคคลอื่น ผูกพันต่อวิธีการ ผลผลิต หรือแนวคิดที่นอกเหนือจากความเป็นอยู่และอาชีพปกติของตน

3. เสริมสร้างศักยภาพและทุ่มเท (Competence and focus) ความพยายามของตนเพื่อผลสุดยอดของงาน มีทักษะความชำนาญที่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของตน เป็นผู้มีมาตรฐานการทำงานของตนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดขององค์การ ใฝ่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลาเพื่อให้เกิดการพัฒนา 4. มีความกล้าหาญ (Courage) ซื่อสัตย์และน่าเชื่อถือ (Honest and credible) เป็นนักวิเคราะห์ที่สามารถเสนอแนะความคิดและการวินิจฉัยต่าง ๆ กล้ารับผิดและให้เกียรติในความสำเร็จแก่ผู้อื่น เป็นผู้มีรูปแบบมาตรฐานทางจริยธรรมของตน

จบบทที่ 3 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...